ความขัดแย้งในเซาท์คอร์โดฟานและบลูไนล์

ความขัดแย้งในเซาท์คอร์โดฟานและบลูไนล์ หรือบางครั้งเรียกว่า สงครามกลางเมืองซูดานครั้งที่สาม[14] เป็นความขัดแย้งติดอาวุธที่ยังดำเนินอยู่ในซูดานทางใต้ในรัฐเซาท์คอร์โดฟานและบลูไนล์ระหว่างกองทัพซูดาน (SAF) และ Sudan People's Liberation Movement-North (SPLM-N) ซึ่งเป็นส่วนเหนือของ Sudan People's Liberation Movement (SPLM) ในเซาท์ซูดาน

ความขัดแย้งในเซาท์คอร์โดฟานและบลูไนล์
ส่วนหนึ่งของ สงครามกลางเมืองซูดาน

สถานการณ์ทางทหารในซูดานเมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน 2016
  ครอบครองโดยรัฐบาลซูดานและพันธมิตร
  ครอบครองโดย Sudan Revolutionary Front และพันธมิตร (เซาท์คอร์โดฟานและบลูไนล์)
  ครอบครองโดย Sudanese Awakening Revolutionary Council (ดาร์ฟูร์)
วันที่5 มิถุนายน ค.ศ. 2011 (2011-06-05) – 31 สิงหาคม ค.ศ. 2020
(9 ปี)
สถานที่
สถานะ

ทางตัน

คู่สงคราม

ซูดาน รัฐบาลซูดาน

SRF

ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
ซูดาน อุมัร อัลบะชีร
ซูดาน อับเดดลระฮีม โมฮัมเหม็ด ฮุสเซน
ซูดาน มุสตาฟา โอสมัน โอเบด ซาลิม
ซูดาน อิบราฮีม บาลันดียา 
อับเดลอะซีซ อัลฮิลู
กิบรีล อิบราฮีม
คะลีลอิบรอฮีม 
มะลิก อะกัร
ยาซิร อัรมาน
มินนี มินนาวี
อับดุลวาฮิด อันนูร
โมฮาเม็ด ราโฮมา [5]
กำลัง
SAF:
109,300[6]
RSF:
17,500
SPLM-N:
45,000[7]
JEM:
35,000[8]
ความสูญเสีย

ถูกฆ่า 600–650 นาย
ยืนยันว่าถูกจับ 179 นาย
ยานพาหนะถูกทำลาย 405 คัน
ยานพาหนะถูกยึด 746 คัน[9]

2,530 (2013–2014 ในบลูไนล์)[10]
ถูกฆ่า 704 คน[9]
รวม:
เสียชีวิต 643[11]–1,500 คน[12]
พลัดถิ่น 500,000 คน[13]

จนถึง ตุลาคม 2014 ประมาณสองล้านคนได้รับผลกระทบจากความขัดแย้งนี้ มากกว่า 500,000 คนพลัดถิ่น และในจำนวนนี้ประมาณ 250,000 คนอพยพไปเซาท์ซูดานและเอธิโอเปีย[15][16]

อ้างอิง แก้

  1. "Series of explosions at weapons cache rock town in West Kordofan". Sudan Tribune. 6 June 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-06-06. สืบค้นเมื่อ 2016-12-03.
  2. Durame (13 April 2012). "Ethiopia Is Arming South Kordofan Rebels says Ethiopian officer".
  3. "PressTV-Rebels, Sudan army clash in Dalami". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ January 18, 2015. สืบค้นเมื่อ 26 January 2015.
  4. Uma, Julius (2011-09-05). "UN report: 1,500 killed and 73,000 displaced in S. Sudan conflicts". Sudan Tribune. Juba. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ November 29, 2011.
  5. "Sudanese army retake SRF rebel area in South Kordofan". Sudan Tribune. 20 November 2013. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-06-04. สืบค้นเมื่อ 13 December 2014.
  6. "Sudan Military Strength". GFP. สืบค้นเมื่อ 27 March 2014.
  7. วิดีโอ ที่ยูทูบ
  8. "Who are Sudan's Jem rebels?" Al Jazeera
  9. 9.0 9.1 "Radio Dabanga - Independent news and relevant information from the heart of Darfur". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ October 15, 2014. สืบค้นเมื่อ 11 November 2014.
  10. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-03-03. สืบค้นเมื่อ 2016-12-03.
  11. "More than 600 killed in Sudan warzone: minister". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-10-24. สืบค้นเมื่อ 2021-08-14.
  12. UN report: 1,500 killed and 73,000 displaced in S. Sudan conflicts เก็บถาวร พฤศจิกายน 29, 2011 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  13. "500 refugees fleeing South Kordofan per week: UNHCR". Sudan Tribune. 5 February 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-02-08. สืบค้นเมื่อ 2 March 2015.
  14. Globalsecurity.org - Sudan Third Civil War 2005- ????,
  15. "South Kordofan & Blue Nile: Population Movements Fact Sheet" (PDF). OCHA. 19 May 2014. สืบค้นเมื่อ 18 January 2015.
  16. "Sudan: Humanitarian Snapshot" (PDF). OCHA. 31 October 2014. สืบค้นเมื่อ 18 January 2015.