กุปเดอลาลีก
กุปเดอลาลีก (ฝรั่งเศส: Coupe de la Ligue) เป็นการแข่งขันชิงถ้วยแบบแพ้คัดออกในฟุตบอลฝรั่งเศส จัดโดยสันนิบาตฟุตบอลอาชีพ[1] การแข่งขันเริ่มมีขึ้นในปี ค.ศ. 1994[2] และเปิดรับเฉพาะสโมสรอาชีพในฝรั่งเศสที่เล่นในดิวิชันสูงสุดสามดิวิชันของประเทศเท่านั้น (ต่างจากกุปเดอฟร็องส์) แต่ปัจจุบันมีสโมสรอาชีพสี่สโมสรที่เล่นในช็องปียอนานาซียอนาล[3]
![]() | |
ก่อตั้ง | ค.ศ. 1994 |
---|---|
ยกเลิก | ค.ศ. 2020 |
จำนวนทีม | 42 |
ผ่านเข้าไปเล่นใน | ยูฟ่ายูโรปาลีก |
ทีมชนะเลิศล่าสุด | ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง (9 สมัย) |
ทีมที่ประสบความสำเร็จที่สุด | ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง (9 สมัย) |
ผู้แพร่ภาพโทรทัศน์ | ฟร็องส์เดอ, ฟร็องส์ทรัว, ฟร็องส์กัทร์ (ฟร็องส์เตเลวีซียง) กานาลปลุส |
![]() |
การแข่งขันนัดชิงชนะเลิศ (ค.ศ. 1963–1994)แก้ไข
กุปเดอลาลีก (ค.ศ. 1963–1965)แก้ไข
ปี | ชนะเลิศ | ผลคะแนน | รองชนะเลิศ | สนาม | จำนวนผู้ชม |
---|---|---|---|---|---|
1964 | สทราซบูร์ | 2–0 | รูอ็อง | สตาดเดอลาแมโน | 7,494 |
1965 | น็องต์ | 4–1 | ตูลงวาร์ | ปาร์กเดแพร็งส์ | 4,249 |
กุปเดเต/กุปเดอลาลีก (ค.ศ. 1982–1994)แก้ไข
ปี | ชนะเลิศ | ผลคะแนน | รองชนะเลิศ | สนาม | จำนวนผู้ชม |
---|---|---|---|---|---|
1982 | ลาวาล | 3–1 | น็องซี | สตาดเดอปารี | 1,041 |
1984 | ลาวาล | 3–1 | มอนาโก | สนามกีฬาโอกุสต์ เดอโลน | 5,000 |
1986 | แม็ส | 2–1 | กาน | สนามกีฬาปีแยร์ เดอ กูแบร์แต็ง | 7,000 |
1991 | แร็งส์ | 0–0 *[A] | นียอร์ | สนามกีฬาเรอเน กายาร์ | 1,724 |
1992 | มงเปอลีเย | 3–1 | อ็องเฌ | สนามกีฬาฌ็อง บวง | 4,882 |
1994 | ล็องส์ | 3–2 | มงเปอลีเย | สนามกีฬาเฟลิกซ์ บอลาร์ต | 6,000 |
การแข่งขันนัดชิงชนะเลิศ (ค.ศ. 1994–2020)แก้ไข
- หมายเหตุ
† | การแข่งขันชนะในช่วงหลังต่อเวลาพิเศษ |
* | การแข่งขันชนะในช่วงการดวลลูกโทษ |
ทำเนียบผู้ชนะเลิศจำแนกตามสโมสรแก้ไข
สโมสร | ชนะเลิศ | รองชนะเลิศ | ปีชนะเลิศ | ปีรองชนะเลิศ |
---|---|---|---|---|
ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง | 9 | 1 | 1995, 1998, 2008, 2014, 2015, 2016, 2017, 2018, 2020 | 2000 |
สทราซบูร์ | 4 | 0 | 1964, 1997, 2005, 2019 | — |
บอร์โด | 3 | 3 | 2002, 2007, 2009 | 1997, 1998, 2010 |
มาร์แซย์ | 3 | 0 | 2010, 2011, 2012 | — |
แม็ส | 2 | 1 | 1986, 1996 | 1999 |
ล็องส์ | 2 | 1 | 1994, 1999 | 2008 |
ลาวาล | 2 | 0 | 1982, 1984 | — |
ลียง | 1 | 5 | 2001 | 1996, 2007, 2012, 2014, 2020 |
มอนาโก | 1 | 4 | 2003 | 1984, 2001, 2017, 2018 |
มงเปอลีเย | 1 | 1 | 1992 | 1994, 2011 |
น็องต์ | 1 | 1 | 1965 | 2004 |
ซอโช-มงเบลียาร์ | 1 | 1 | 2004 | 2003 |
น็องซี | 1 | 1 | 2006 | 1982 |
แร็งส์ | 1 | 0 | 1991 | — |
เกอญง | 1 | 0 | 2000 | — |
แซ็งเตเตียน | 1 | 0 | 2013 | — |
บัสตียา | 0 | 2 | — | 1995, 2015 |
รูอ็อง | 0 | 1 | — | 1964 |
ตูลงวาร์ | 0 | 1 | — | 1965 |
กาน | 0 | 1 | — | 1986 |
นียอร์ | 0 | 1 | — | 1991 |
อ็องเฌ | 0 | 1 | — | 1992 |
ลอรีย็อง | 0 | 1 | — | 2002 |
ก็อง | 0 | 1 | — | 2005 |
นิส | 0 | 1 | — | 2006 |
วาน | 0 | 1 | — | 2009 |
แรน | 0 | 1 | — | 2013 |
ลีล | 0 | 1 | — | 2016 |
แก็งก็อง | 0 | 1 | — | 2019 |
หมายเหตุแก้ไข
- A. ^ : แร็งส์ ชนะ 4–3 ในนัดชิงชนะเลิศปี 1991 ในการดวลลูกโทษ.
- B. ^ : แม็ส ชนะ 5–4 ในนัดชิงชนะเลิศปี 1996 ในการดวลลูกโทษ.
- C. ^ : สทราชบูร์ ชนะ 6–5 ในนัดชิงชนะเลิศปี 1997 ในการดวลลูกโทษ.
- D. ^ : ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง ชนะ 4–2 ในนัดชิงชนะเลิศปี 1998 ในการดวลลูกโทษ.
- E. ^ : ซอโช ชนะ 5–4 ในนัดชิงชนะเลิศปี 2004 ในการดวลลูกโทษ.
- F. ^ : สทราชบูร์ ชนะ 4–1 ในนัดชิงชนะเลิศปี 2019 ในการดวลลูกโทษ.
- G. ^ : ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง ชนะ 6–5 ในนัดชิงชนะเลิศปี 2020 ในการดวลลูกโทษ.
อ้างอิงแก้ไข
- ↑ "League Cup". Ligue de Football Professionnel. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 กุมภาพันธ์ 2009. สืบค้นเมื่อ 20 กุมภาพันธ์ 2009.
{{cite web}}
: ไม่รู้จักพารามิเตอร์|deadurl=
ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=
) (help) - ↑ "League Cup History". Ligue de Football Professionnel. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 February 2008. สืบค้นเมื่อ 20 February 2009.
{{cite web}}
: ไม่รู้จักพารามิเตอร์|deadurl=
ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=
) (help) - ↑ "France Summer Cup 1982". Rec.Sport.Soccer Statistics Foundation. สืบค้นเมื่อ 20 February 2009.
แหล่งข้อมูลอื่นแก้ไข
- Coupe de la Ligue information on LFP.fr เก็บถาวร 2010-12-19 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (ฝรั่งเศส)