การเลือกตั้งทั่วไปในประเทศพม่า ค.ศ. 1947

การเลือกตั้งทั่วไปจัดขึ้นที่ประเทศพม่า เมื่อวันที่ 9 เมษายน ค.ศ. 1947 เพื่อจัดตั้งสภาร่างรัฐธรรมนูญ หลังจากได้รับเอกราชจากสหราชอาณาจักร[1] และเป็นการเลือกตั้งครั้งแรกในประเทศพม่า นับตั้งแต่ถูกแยกออกจาก อินเดีย ภายใต้การปกครองของอังกฤษ[2] การเลือกตั้งทั่วไปเมื่อปี ค.ศ. 1947 ผู้มีสิทธิเลือกตั้งเป็น 49.8%[3] อย่างไรก็ตาม อองซาน ได้ถูกลอบสังหารสามเดือนหลังจากการเลือกตั้ง ส่งผลให้ อูนุ กลายเป็นนายกรัฐมนตรีคนแรกของประเทศพม่า

การเลือกตั้งทั่วไปในประเทศพม่า ค.ศ. 1947

← 1936 9 เมษายน ค.ศ. 1947 1951–52 →

ทั้งหมด 210 ที่นั่งในสภาร่างรัฐธรรมนูญ
ต้องการ 106 ที่นั่งจึงเป็นฝ่ายข้างมาก
ผู้ใช้สิทธิ49.8%
  First party Second party Third party
 
ผู้นำ อองซาน วี่น-มอง ต้านทู่น
พรรค สันนิบาตเสรีภาพประชาชนต่อต้านฟาสซิสต์ องค์การเยาวชนกะเหรี่ยง พรรคคอมมิวนิสต์พม่า
ที่นั่งที่ชนะ 173 19 7
คะแนนเสียง 1,755,000 109,000 126,000

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

อองซาน
สันนิบาตเสรีภาพประชาชนต่อต้านฟาสซิสต์

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

อู้นุ
สันนิบาตเสรีภาพประชาชนต่อต้านฟาสซิสต์

ผลการเลือกตั้ง แก้

พรรค[4] โหวต % ที่นั่ง
สันนิบาตเสรีภาพประชาชนต่อต้านฟาสซิสต์ 1755000 173
พรรคคอมมิวนิสต์พม่า 126,000 7
องค์กรเยาวชนกะเหรี่ยง 109,000 19
กะเหรี่ยงอิสระ 5
แองโกลพม่า 4
ที่ปรึกษา 2
คะแนนไม่ถูกต้อง / ว่างเปล่า - -
ทั้งหมด 100 210
ผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่ลงทะเบียน / ผลิตภัณฑ์ 49.8 -
ที่มา: Nohlen et al.

ผลตามหลัง แก้

เมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม ค.ศ. 1947 อองซาน ถูกลอบสังหารพร้อมกับสมาชิกคนอื่นๆ ถึง 6 คน จากสันนิบาตเสรีภาพประชาชนต่อต้านฟาสซิสต์ ส่งผลให้อูนุ เป็นผู้นำสันนิบาต[5] รัฐธรรมนูญแห่งสหภาพเมียนมาร์ได้รับการอนุมัติเมื่อวันที่ 24 กันยายน ค.ศ. 1947 และสหภาพพม่าได้รับเอกราชเมื่อวันที่ 4 มกราคม ค.ศ. 1948[6]

ดูเพิ่ม แก้

อ้างอิง แก้

  1. Rotberg, Robert I. (1998). Burma: prospects for a democratic future (2nd ed.). Brookings Institution Press. p. 42. ISBN 978-0-8157-7582-9.
  2. Saffin, Janelle (2000). "Burma's Election and Constitutional History: A Snapshot". Legal Issues on Burma Journal. Burma Lawyers' Council. 7.
  3. Dieter Nohlen, Florian Grotz & Christof Hartmann (2001) Elections in Asia: A data handbook, Volume I, p610 ISBN 0-19-924958-X
  4. Rotberg, Robert I. (1998). Burma: prospects for a democratic future (2nd ed.). Brookings Institution Press. p. 42. ISBN 978-0-8157-7582-9.
  5. Morse, Erik A.; Mitchell, Ronald K. (2006). Cases in entrepreneurship: the venture creation process. SAGE. p. 61. ISBN 978-1-4129-0976-1.
  6. Saffin, Janelle (2000). "Burma's Election and Constitutional History: A Snapshot". Legal Issues on Burma Journal. Burma Lawyers' Council. 7.