การรุกในอิตาลี ฤดูใบไม้ผลิ ปี ค.ศ. 1945

การรุกในอิตาลี ฤดูใบไม้ผลิ ปี ค.ศ. 1945 รหัสนามคือ ปฏิบัติการ Grapeshot[6] เป็นการโจมตีครั้งสุดท้ายในช่วงการทัพอิตาลีในช่วงสุดท้ายในสงครามโลกครั้งที่สอง การโจมตีสู่ที่ราบลอมบาร์ดีโดยกองทัพกลุ่มฝ่ายสัมพันธมิตรที่ 15 เริ่มต้นเมื่อวันที่ 6 เมษายน ค.ศ. 1945 ถึงจุดสิ้นสุดเมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม ด้วยการยอมจำนนอย่างเป็นทางการของกองทัพเยอรมันในอิตาลี

ปฏิบัติการ Grapeshot
ส่วนหนึ่งของ การทัพอิตาลีในสงครามโลกครั้งที่สอง

ทหารบริติชของกองพัน (ฮันติงดอนเชียร์) ที่ 5, กรมทหารนอร์ทแธมตันเชอร์, ส่วนหนึ่งของ กองทัพน้อยที่ 11 ของ กองพลทหารราบที่ 78, พวกเขากำลังเดินทางผ่านเศษซากปรักหักพังที่อาร์เจนตา, 18 เมษายน ค.ศ. 1945.
วันที่6 เมษายน ค.ศ. 1945 – 2 พฤษภาคม ค.ศ. 1945
สถานที่
ผล

ฝ่ายสัมพันธมิตรชนะ

คู่สงคราม

 สหราชอาณาจักร

 สหรัฐ
Poland
บราซิล Brazil
 นิวซีแลนด์
Italian Resistance
 แอฟริกาใต้
ราชอาณาจักรอิตาลี ​อิตาลี
...and others
 ไรช์เยอรมัน
 สาธารณรัฐสังคมอิตาลี
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
สหราชอาณาจักร Harold Alexander
สหราชอาณาจักร Richard McCreery
สหรัฐ Mark Clark
สหรัฐ Lucian Truscott
สหรัฐ William Darby [1]
นาซีเยอรมนี H. von Vietinghoff Surrendered
นาซีเยอรมนี Traugott Herr Surrendered
นาซีเยอรมนี Joachim Lemelsen Surrendered
สาธารณรัฐสังคมอิตาลี เบนิโต มุสโสลินี โทษประหารชีวิต
สาธารณรัฐสังคมอิตาลี โรดอลโฟ กราซีอานี Surrendered
หน่วยที่เกี่ยวข้อง

สหราชอาณาจักร 15th Army Group

นาซีเยอรมนี Army Group C

กำลัง
Total: 1,333,856[2][nb 1]
5th Army:
266,883 fighting strength[2]
8th Army:
632,980 fighting strength[3]

Total: 585,000[4]

  • 394,000 fighting strength[4]
  • 100,000 local police units[4]
  • 91,000 lines of communication and AA-troops[4]
ความสูญเสีย
16,258 casualties[nb 2]
incl. 2.860 killed [5]
30–32,000 casualties[nb 3]
แม่แบบ:Campaignbox 1945 Spring Offensiveแม่แบบ:Campaignbox Italy

อ้างอิง แก้

  1. Darby, William Orlando “Bill”
  2. 2.0 2.1 Jackson, p. 230.
  3. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Jackson223
  4. 4.0 4.1 4.2 4.3 Jackson, p. 236.
  5. 5.0 5.1 5.2 Jackson, p. 334
  6. Jackson, p. 253
  1. Including lines of communication and support troops
  2. From 9 April 1945 until the end of Operation Grapeshot, thus casualties exclude those suffered during the preliminary operations.
    5th Army: 7,965 casualties. American: 6,834 (1,288 killed, 5,453 wounded and 93 missing) casualties; South African: 537 (89 killed, 445 wounded and 3 missing) casualties; Brazilian: 594 (65 killed, 482 wounded and 47 missing) casualties.
    8th Army: 7,193 casualties. British: 3,068 (708 killed, 2,258 wounded and 102 missing) casualties; New Zealand: 1,381 (241 killed and 1,140 wounded) casualties; Indian: 1,076 (198 killed, 863 wounded and 15 missing) casualties; Colonial: 46 (11 killed and 35 wounded) casualties; Polish: 1,622 (260 killed, 1,355 wounded and 7 missing) casualties.
    Italians fighting with both armies: 1,100 (242 killed, 828 wounded and 30 missing) casualties.[5]
  3. British estimated around 30,000 casualties were inflicted upon the Axis forces during this offensive, while a German staff officer estimated 32,000 casualties suffered during Operation Grapeshot.[5]