การระบาดทั่วของโควิด-19 ในประเทศภูฏาน

การระบาดทั่วของโควิด-19 ในประเทศภูฏาน ได้รับการยืนยันว่าได้ไปถึงประเทศภูฏานในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2563

การระบาดทั่วของโควิด-19 ในประเทศภูฏาน
โรคโควิด-19
สถานที่ประเทศภูฏาน
วันแรกมาถึง6 มีนาคม พ.ศ. 2563
(4 ปี 1 เดือน 13 วัน)
ผู้ป่วยยืนยันสะสม4,089 คน
เสียชีวิต3 คน

ภูมิหลัง แก้

เมื่อวันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2563 องค์การอนามัยโลก (WHO) ยืนยันว่าไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่เป็นสาเหตุของการเจ็บป่วยทางเดินหายใจในกลุ่มคนในเมืองอู่ฮั่น มณฑลหูเป่ย์ ประเทศจีน ซึ่งรายงานต่อองค์การอนามัยโลกในวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2562[1][2]

อัตราป่วยตายของผู้ป่วยสำหรับโควิด-19 นั้นต่ำกว่าโรคซาร์ส พ.ศ. 2546 มาก[3][4] แต่การแพร่เชื้อน่าสังเกตมากกว่า ด้วยจำนวนผู้เสียชีวิตที่มีความหมาย[3][5]

เส้นเวลา แก้

มีนาคม พ.ศ. 2563 แก้

22 มีนาคม: สมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี เคเซอร์ นัมเกล วังชุก กษัตริย์แห่งภูฏาน มีพระราชปราศัยระดับชาติว่าจะปิดพรมแดนของประเทศ[6]

อ้างอิง แก้

  1. Elsevier. "Novel Coronavirus Information Center". Elsevier Connect. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 30 January 2020. สืบค้นเมื่อ 15 March 2020.
  2. Reynolds, Matt (4 March 2020). "What is coronavirus and how close is it to becoming a pandemic?". Wired UK. ISSN 1357-0978. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 March 2020. สืบค้นเมื่อ 5 March 2020.
  3. 3.0 3.1 "Crunching the numbers for coronavirus". Imperial News. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 March 2020. สืบค้นเมื่อ 15 March 2020.
  4. "High consequence infectious diseases (HCID); Guidance and information about high consequence infectious diseases and their management in England". GOV.UK (ภาษาอังกฤษ). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 March 2020. สืบค้นเมื่อ 17 March 2020.
  5. "World Federation Of Societies of Anaesthesiologists – Coronavirus". www.wfsahq.org. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 March 2020. สืบค้นเมื่อ 15 March 2020.
  6. "Instagram post by Her Majesty Queen Jetsun Pema • Mar 23, 2020 at 3:10am UTC". Instagram (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2020-03-25.

อ่านเพิ่ม แก้

แหล่งข้อมูลอื่น แก้