การระบาดทั่วของโควิด-19 ในประเทศลาว
การระบาดทั่วของไวรัสโคโรนา พ.ศ. 2562–2563 ได้รับการยืนยันว่าเริ่มต้นขึ้นที่ประเทศลาวเมื่อวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2563
การระบาดทั่วของไวรัสโคโรนาในประเทศลาว พ.ศ. 2563 | |
---|---|
แผนที่แขวงที่มีผู้ติดเชื้อ (ณ วันที่ 5 ธันวาคม): ผู้ติดเชื้อ 1–9 คน ผู้ติดเชื้อ 10–99 คน ผู้ติดเชื้อ 100-999 คน
ผู้ติดเชื้อ 1,000-9,999 คน
ผู้ติดเชื้อมากกว่า 10,000 คน | |
โรค | โรคติดเชื้อโคโรนาไวรัส 2019 |
สถานที่ | ประเทศลาว |
การระบาดครั้งแรก | อู่ฮั่น มณฑลหูเป่ย์ ประเทศจีน |
ผู้ป่วยต้นปัญหา | เวียงจันทน์ |
วันแรกมาถึง | 24 มีนาคม พ.ศ. 2563 (4 ปี 5 เดือน 20 วัน) |
ผู้ป่วยยืนยันสะสม | 84,053 คน |
หาย | 7,339 คน |
เสียชีวิต | 224 คน |
ภูมิหลัง
แก้เมื่อวันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2563 องค์การอนามัยโลก (WHO) ยืนยันว่าไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่เป็นสาเหตุของการเจ็บป่วยทางเดินหายใจในกลุ่มคนในเมืองอู่ฮั่น มณฑลหูเป่ย์ ประเทศจีน ซึ่งรายงานต่อองค์การอนามัยโลกในวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2562[1][2]
อัตราป่วยตายของผู้ป่วยสำหรับโควิด-19 นั้นต่ำกว่าโรคซาร์ส พ.ศ. 2546 มาก[3][4] แต่การแพร่เชื้อมีความหมายมากกว่า ด้วยจำนวนผู้เสียชีวิตที่มีนัยสำคัญ[3][5]
เส้นเวลา
แก้มีนาคม
แก้เมื่อวันที่ 24 มีนาคม ทางการลาวยืนยันพบผู้ติดเชื้อโควิด-19 เป็นกรณีแรก เป็นจำนวนสองราย แบ่งเป็นชายอายุ 28 ปี และหญิงอายุ 36 ปี[6] ถือว่าเป็นประเทศสุดท้ายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่พบผู้ติดเชื้อเป็นจากโรคติดเชื้อโคโรนาไวรัส 2019 [7][8]
วันที่ 26 มีนาคม เวียงจันทน์ไทมส์ หนังสือพิมพ์รายวันประเทศลาว ได้ยืนยันว่าพบผู้ติดเชื้อเป็นรายที่สาม[9] และยังกล่าวต่ออีกว่าทางการจีนได้ส่งอุปกรณ์ทางการแพทย์เข้าช่วยเหลือ เพื่อสู้กับโรคติดเชื้อโคโรนาไวรัส 2019[10] ลาวโพสต์ ได้รายงานว่า สถานที่ราชการในประเทศลาว มีการควบคุมอย่างเข้มงวด มีเจ้าหน้าที่ตรวจวัดอุณหภูมิทุกสถานที่ โดยในสังคมออนไลน์ได้มีการเชิญชวนให้แฮชแท็กว่า #ฮักคอบคัวให้อยู่แต่เฮือน (รักครอบครัวให้อยู่แต่บ้าน)[11]
วันที่ 27 มีนาคม มีผู้ติดเชื้อรวม 3 ราย ซึ่งมีชายสองรายมาจากหลวงพระบาง และอีกหนึ่งมาจากเวียงจันทน์[12] ในวันเดียวกัน ทางการเวียดนามได้มอบเงินให่ 1 แสนดอลลาร์สหรัฐ และเตรียมพร้อมแพทย์ 60,000 รายพร้อมเข้าช่วยเหลือ[13]
สถิติ
แก้กรณีที่ | วันที่ | อายุ | เพศ | สัญชาติ | สถานที่พบ | สถานบำบัด | ประวัติไปต่างประเทศ | สถานะ | หมายเหตุ | ที่มา |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | 24 มีนาคม พ.ศ. 2563 | 36 | หญิง | ลาว | เวียงจันทน์ | ไม่มี | ปล่อยตัว | กระทำอาชีพผู้นำเที่ยว | ||
2 | 24 มีนาคม พ.ศ. 2563 | 26 | ชาย | เวียงจันทน์ | ไทย | |||||
3 | 25 มีนาคม พ.ศ. 2563 | 26 | ชาย | เวียงจันทน์ | ทวีปยุโรป | ติดร่วมกับกรณีที่สอง | ||||
4 | 26 มีนาคม พ.ศ. 2563 | 42 | ชาย | เวียงจันทน์ | ไม่มี | ติดร่วมกับกรณีที่หนึ่ง | ||||
5 | 26 มีนาคม พ.ศ. 2563 | 42 | ชาย | เวียงจันทน์ | ไม่มี | ติดร่วมกับกรณีที่หนึ่ง | ||||
6 | 26 มีนาคม พ.ศ. 2563 | 41 | ชาย | เวียงจันทน์ | ไม่มี | ติดร่วมกับกรณีที่สาม | ||||
7 | 28 มีนาคม พ.ศ. 2563 | 18 | ชาย | เวียงจันทน์ | ไม่มี | ติดร่วมกับกรณีที่สาม | ||||
8 | 28 มีนาคม พ.ศ. 2563 | 50 | หญิง | เวียงจันทน์ | ไม่มี | |||||
9 | 29 มีนาคม พ.ศ. 2563 | 22 | หญิง | เวียงจันทน์ | ไทย | อาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานคร | ||||
10 | 25 มีนาคม พ.ศ. 2563 | 21 | หญิง | เวียงจันทน์ | ไม่มี | ติดร่วมกับกรณีที่แปด | ||||
11 | 5 เมษายน พ.ศ. 2563 | 55 | ชาย | ปาปัวนิวกินี | เวียงจันทน์ | ปาปัวนิวกินี | กระทำอาชีพพนักงานบริษัทเหมืองแร่ | |||
12 | 6 เมษายน พ.ศ. 2563 | 20 | หญิง | ลาว | เวียงจันทน์ | สหราชอาณาจักร | ติดร่วมกับกรณีที่สิบเอ็ดในเที่ยวบินระหว่างประเทศจากกรุงเทพมหานครสู่เวียงจันทน์ | |||
13 | 7 เมษายน พ.ศ. 2563 | 40 | ชาย | เวียงจันทน์ | ไม่มี | ติดร่วมกับกรณีที่สิบเอ็ด | ||||
14 | 7 เมษายน พ.ศ. 2563 | 19 | หญิง | เวียงจันทน์ | สหราชอาณาจักร | |||||
15 | 8 เมษายน พ.ศ. 2563 | 20 | หญิง | เวียงจันทน์ | สหราชอาณาจักร | ติดร่วมกับกรณีที่สิบสอง ซึ่งเป็นเที่ยวบินเดียวกับกรณีที่สิบเอ็ดและกรณีที่สิบสอง | ||||
16 | 10 เมษายน พ.ศ. 2563 | 23 | หญิง | เวียงจันทน์ | ไม่มี | ติดร่วมกับกรณีที่สิบ | ||||
17 | 11 เมษายน พ.ศ. 2563 | 32 | หญิง | เวียงจันทน์ | ไม่มี | ติดร่วมกับกรณีที่สิบหก | ||||
18 | 11 เมษายน พ.ศ. 2563 | 32 | หญิง | เวียงจันทน์ | ไม่มี | |||||
19 | 12 เมษายน พ.ศ. 2563 | 21 | ชาย | เวียงจันทน์ | ไม่มี |
อ้างอิง
แก้- ↑ Elsevier. "Novel Coronavirus Information Center". Elsevier Connect. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 30 January 2020. สืบค้นเมื่อ 15 March 2020.
- ↑ Reynolds, Matt (4 March 2020). "What is coronavirus and how close is it to becoming a pandemic?". Wired UK. ISSN 1357-0978. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 March 2020. สืบค้นเมื่อ 5 March 2020.
- ↑ 3.0 3.1 "Crunching the numbers for coronavirus". Imperial News. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 March 2020. สืบค้นเมื่อ 15 March 2020.
- ↑ "High consequence infectious diseases (HCID); Guidance and information about high consequence infectious diseases and their management in England". GOV.UK (ภาษาอังกฤษ). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 March 2020. สืบค้นเมื่อ 17 March 2020.
- ↑ "World Federation Of Societies of Anaesthesiologists – Coronavirus". www.wfsahq.org. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 March 2020. สืบค้นเมื่อ 15 March 2020.
- ↑ "ทางการลาวยืนยัน พบผู้ป่วยโควิดรายแรกพร้อมกัน 2 คน". 24 มีนาคม 2020. สืบค้นเมื่อ 26 มีนาคม 2020.
- ↑ "Laos records first two coronavirus cases - Thai Media". 24 March 2020. สืบค้นเมื่อ 24 March 2020.
- ↑ "Laos Confirms First Covid-19 Cases". 24 March 2020. สืบค้นเมื่อ 24 March 2020.
- ↑ "Laos confirms third Covid-19 case". 26 March 2020. สืบค้นเมื่อ 26 March 2020.
- ↑ "China Sends Medical Experts to Help Laos Fight COVID-19". 26 March 2020. สืบค้นเมื่อ 26 March 2020.
- ↑ "'ลาว' เจอถี่! ติด 'โควิด' เพิ่ม 3 ชวนติดแฮชแท็ก #ฮักคอบคัวให้อยู่แต่เฮือน". 26 มีนาคม 2020. สืบค้นเมื่อ 26 มีนาคม 2020.
- ↑ "Three More Covid-19 Cases Confirmed in Laos, Total Now at 6". 27 March 2020. สืบค้นเมื่อ 27 March 2020.
- ↑ https://vietnaminsider.vn/vietnam-to-provide-laos-and-cambodia-with-medical-equipment-worth-100000-each/