การก่อการกำเริบวอร์ซอเกตโต

การก่อการกำเริบวอร์ซอเกตโต (ยิดดิช: אױפֿשטאַנד אין װאַרשעװער געטאָ; โปแลนด์: powstanie w getcie warszawskim; เยอรมัน: Aufstand im Warschauer Ghetto) เป็นเหตุการณ์ในช่วงปี ค.ศ. 1943 ด้วยการกระทำของชาวยิวจากการต่อต้านกองทัพนาซีเยอรมนีที่เกิดขึ้นในวอร์ซอเกตโตอยู่ในเขตโปแลนด์ภายใต้การยึดครองของเยอรมนีระหว่างในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองและเป็นการขัดขวางเพื่อไม่ให้นาซีเยอรมนีในความพยายามครั้งสุดท้ายด้วยการขนส่งเหล่ากลุ่มชาวยิวคนอื่นๆจากในเขตเกตโตไปยังค่ายมรณะเทรบลิงคา การก่อการกำเริบได้เริ่มต้นขึ้นเมื่อวันที่ 19 เมษายน เมื่อผู้คนในเขตเกตโตได้ปฏิเสธที่จะยอมจำนนต่อผู้บัญชาการตำรวจ เอ็สเอ็ส-บริกาเดอฟือเรอร์ เยือร์เกิน ชโตรพ์ (Jürgen Stroop) ผู้ซึ่งได้ออกคำสั่งให้ทำการเผาบ้านเรือนในเขตเกตโต โดยบล็อกต่อบล็อก จนกระทั่งได้สิ้นสุดลงเมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม ชาวยิวทั้งหมด 13,000 คนได้เสียชีวิต,ประมาณครึ่งหนึ่งของพวกเขานั้นถูกเผาทั้งเป็นหรือขาดอากาศ (เพราะสูดดมควันไฟ) ทางฝ่ายเยอรมันนั้นยังไม่ทราบว่าจำนวนผู้บาดเจ็บและตายเท่าไร แต่มีการคาดกันว่าจำนวน 300 คน,เป็นการก่อการก่อการกำเริบที่ใหญ่ที่สุดในครั้งเดียวโดยชาวยิวระหว่างช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง

การก่อการกำเริบวอร์ซอเกตโต
ส่วนหนึ่งของ สงครามโลกครั้งที่สอง และ ฮอโลคอสต์

ภาพถ่ายจากเยือร์เกิน ชโตรพ์ในรายงานต่อไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์ จากเดือนเมษายน 1943 และเป็นหนึ่งในภาพที่ดีที่สุดในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง.
ภาพต้นฉบับได้อธิบายเป็นภาษาเยอรมันอ่านว่า"การถูกบังคับให้ออกมาจากหลุมหลบภัย."
วันที่19 เมษายน – 16 พฤษภาคม 1943
สถานที่52°14′46″N 20°59′45″E / 52.24611°N 20.99583°E / 52.24611; 20.99583
ผล การก่อการกำเริบล้มเหลว
คู่สงคราม
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
กำลัง
Daily average of 2,090 including 821 Waffen-SS About 600[1] ŻOB and about 400[2] ŻZW fighters, plus a number of Polish fighters
ความสูญเสีย
At least 17 to 300 killed, 93 wounded (German figures) About 13,000 killed, 56,885 deported, mostly civilians (German estimate)
According to Stroop's unofficial account, 71,000 people in all were killed or deported. The 16 killed on the German side do not include Jewish forced collaborators.

อ้างอิง แก้

  1. Guttman, John (March 2000). "World War II: Warsaw Ghetto Uprising". World War II Magazine. สืบค้นเมื่อ 2 May 2012.
  2. Rp.pl (2008-04-18). "Zapomniani żołnierze ŻZW" (ภาษาโปแลนด์). rp.pl. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-04-28. สืบค้นเมื่อ 2012-11-07.

แหล่อข้อมูลอื่น แก้

  • Edelman, Marek (1990). The Ghetto Fights: Warsaw, 1941–43. London: Bookmarks Publications. ISBN 0-906224-56-X.
  • Gebhardt-Herzberg, Sabine (2003). "Das Lied ist geschrieben mit Blut und nicht mit Blei": Mordechaj Anielewicz und der Aufstand im Warschauer Ghetto (in German). Bielefeld: S. Gebhardt-Herzberg. ISBN 3-00-013643-6.
  • Goldstein, Bernard (2005). Five Years in the Warsaw Ghetto. Oakland: AK Press. p. 256. ISBN 1-904859-05-4.[2]
  • Jahns, Joachim (2009). Der Warschauer Ghettokönig. Dingsda-Verlag, Leipzig, ISBN 978-3-928498-99-9
  • Moczarski, Kazimierz (1984). Conversations with an Executioner (Wikipedia). Englewood Cliffs, N.J.: Prentice Hall. ISBN 978-0-300-09546-3. Original in Polish: PDF 1.86 MB.
  • Paulsson, Gunnar S. (2002). Secret City: The Hidden Jews of Warsaw, 1940–1945. New Haven: Yale University Press. ISBN 0-13-171918-1.Review