กรดแกมมาอะมิโนบิวทีริก

(เปลี่ยนทางจาก กาบา)

กรดแกมมาอะมิโนบิวทีริก (อังกฤษ: Gamma-Aminobutyric acid หรือ GABA) เป็นสารสื่อประสาทยับยั้งหลักในระบบประสาทส่วนกลางของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม มีบทบาทในการควบคุมภาวะกระตุ้นได้ของเซลล์ประสาทในระบบประสาท ในมนุษย์ GABA ยังมีหน้าที่ควบคุมความตึงของกล้ามเนื้อ[2]

กรดแกมมาอะมิโนบิวทีริก
γ-Aminobutyric acid
สูตรโครงสร้างอย่างง่าย
โมเลกุล GABA
ชื่อ
Preferred IUPAC name
4-Aminobutanoic acid
ชื่ออื่น
γ-Aminobutanoic acid
4-Aminobutyric acid
3-Carboxypropylamine
Piperidic acid
Piperidinic acid
เลขทะเบียน
3D model (JSmol)
906818
ChEBI
ChEMBL
เคมสไปเดอร์
ดรักแบงก์
ECHA InfoCard 100.000.235 แก้ไขสิ่งนี้ที่วิกิสนเทศ
EC Number
  • 200-258-6
49775
KEGG
MeSH gamma-Aminobutyric+Acid
RTECS number
  • ES6300000
UNII
  • InChI=1S/C4H9NO2/c5-3-1-2-4(6)7/h1-3,5H2,(H,6,7) checkY
    Key: BTCSSZJGUNDROE-UHFFFAOYSA-N checkY
  • InChI=1/C4H9NO2/c5-3-1-2-4(6)7/h1-3,5H2,(H,6,7)
    Key: BTCSSZJGUNDROE-UHFFFAOYAC
  • NCCCC(=O)O
คุณสมบัติ
C4H9NO2
มวลโมเลกุล 103.121 g·mol−1
ลักษณะทางกายภาพ ผงเนื้อจุลผลึกสีขาว
ความหนาแน่น 1.11 กรัม/มิลลิลิตร
จุดหลอมเหลว 203.7 องศาเซลเซียส (398.7 องศาฟาเรนไฮต์; 476.8 เคลวิน)
จุดเดือด 247.9 องศาเซลเซียส (478.2 องศาฟาเรนไฮต์; 521.0 เคลวิน)
130 กรัม/100 มิลลิลิตร
log P −3.17
pKa
  • 4.031 (คาร์บอกซิล; H2O)
  • 10.556 (อะมิโน; H2O)[1]
ความอันตราย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย (OHS/OSH):
อันตรายหลัก
ระคายเคือง, เป็นอันตราย
ปริมาณหรือความเข้มข้น (LD, LC):
12,680 มิลลิกรัม/กิโลกรัม (หนู, ทางปาก)
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa

อ้างอิง

แก้
  1. Haynes, William M., บ.ก. (2016). CRC Handbook of Chemistry and Physics (97th ed.). CRC Press. pp. 5–88. ISBN 978-1498754286.
  2. Watanabe M, Maemura K, Kanbara K, Tamayama T, Hayasaki H (2002). "GABA and GABA receptors in the central nervous system and other organs". ใน Jeon KW (บ.ก.). Int. Rev. Cytol. International Review of Cytology. Vol. 213. pp. 1–47. doi:10.1016/S0074-7696(02)13011-7. ISBN 978-0-12-364617-0. PMID 11837891.

อ่านเพิ่มเติม

แก้

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้