องศาแรงคิน
องศาแรงคิน (อังกฤษ: Rankine Scale, สัญลักษณ์: °Ra[1]) คือหน่วยวัดอุณหภูมิที่คิดค้นขึ้นโดยวิศวกรช่างกลชาวสก็อตแลนด์ ชือ นายวิลเลียม แรงคิน (William Rankine) ผู้ร่วมก่อตั้งสาขาวิชาเทอร์โมไดนามิกส์ เป็นมาตรวัดอุณหภูมิทางเทอร์โมไดนามิกส์ในหน่วยวัดแบบอังกฤษ[2] ประดิษฐ์ขึ้นเมื่อปี ค.ศ.1859 (หลังมาตรวัดเคลวิน ในปี ค.ศ.1849)[3] ใช้วัดอุณหภูมิพลศาสตร์และเอนโทรปี มีจุดเยือกแข็งของน้ำที่ 491.67 R และจุดการกลายเป็นไอน้ำที่ 671.67 R ส่วนอุณหภูมิต่ำที่สุดของ Rankine Scale คือ 0 R ณ จุดนั้น จะไม่มีอุณหภูมิหรือพลังงานในสสารเลย และจะไม่มีการแผ่รังสีความร้อนจากวัตถุ จึงเรียกอุณหภูมิ ณ จุดนี้ว่า ศูนย์สัมบูรณ์ (0 K หรือ 0 R) มีความคล้ายคลึงกับเคลวินอย่างมาก เพราะมีจุดกำเนิดร่วมกัน แต่ต่างกันตรงที่องศาแรงคินมีองศาฟาเรนไฮต์เป็นแม่แบบ อุณหภูมิเพิ่ม 1 °Ra มีค่าเท่ากับ 1°F
แรงคิน | |
---|---|
เป็นหน่วยของ | อุณหภูมิ |
สัญลักษณ์ | °R หรือ °Ra |
ตั้งชื่อตาม | วิลเลียม แรงคิน |
การแปลงหน่วย | |
1 °R ใน ... | ... มีค่าเท่ากับ ... |
หน่วยฐานเอสไอ | 59 x K |
หน่วยเอสไอ | 59 x − 273.15 °C |
หน่วยอังกฤษ/ธรรมเนียมสหรัฐ | x − 459.67 °F |
จากองศาแรงคิน | แปลงให้เป็นองศาแรงคิน | |
---|---|---|
องศาเซลเซียส | [°C] = ([°R] − 491.67) × 5⁄9 | [°R] = ([°C] + 273.15) × 9⁄5 |
องศาฟาเรนไฮต์ | [°F] = [°R] − 459.67 | [°R] = [°F] + 459.67 |
เคลวิน | [K] = [°R] × 5⁄9 | [°R] = [K] × 9⁄5 |
องศาเดลิเซิล | [°De] = (671.67 − [°R]) × 5⁄6 | [°R] = 671.67 − [°De] × 6⁄5 |
องศานิวตัน | [°N] = ([°R] − 491.67) × 11⁄60 | [°R] = [°N] × 60⁄11 + 491.67 |
องศาโรเมอร์ | [°Ré] = ([°R] − 491.67) × 4⁄9 | [°R] = [°Ré] × 9⁄4 + 491.67 |
องศาเรอเมอร์ | [°Rø] = ([°R] − 491.67) × 7⁄24 + 7.5 | [°R] = ([°Rø] − 7.5) × 24⁄7 + 491.67 |
เปรียบเทียบกับมาตรวัดอุณหภูมิแบบอื่น
แก้เคลวิน | องศาเซลเซียส | องศาฟาเรนไฮต์ | องศาแรงคิน | องศาเดลิเซิล | องศานิวตัน | องศาโรเมอร์ | องศาเรอเมอร์ | |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ศูนย์สัมบูรณ์ | 0.00 | −273.15 | −459.67 | 0.00 | 559.73 | −90.14 | −218.52 | −135.90 |
อุณหภูมิที่ต่ำที่สุดที่เคยวัดได้บนพื้นผิวโลก[4] | 184 | −89.2[4] | −128.6[4] | 331 | 284 | −29 | −71 | −39 |
อุณภูมิของน้ำแข็ง น้ำ และ เกลือของฟาเรนไฮต์ | 255.37 | −17.78 | 0.00 | 459.67 | 176.67 | −5.87 | −14.22 | −1.83 |
จุดเยือกแข็งของน้ำ (ณ ระดับน้ำทะเล) | 273.15 | 0.00 | 32.00 | 491.67 | 150.00 | 0.00 | 0.00 | 7.50 |
อุณหภูมิเฉลี่ยของพื้นผิวโลก | 288 | 15 | 59 | 519 | 128 | 5 | 12 | 15 |
อุณหภูมิเฉลี่ยของร่างกายมนุษย์ | 310 | 37 | 98 | 558 | 95 | 12 | 29 | 27 |
อุณหภูมิที่สูงที่สุดที่เคยวัดได้บนพื้นผิวโลก[5] | 331 | 58[5] | 136.4[5] | 596 | 63 | 19 | 46 | 38 |
จุดเดือดของน้ำ (ณ ระดับน้ำทะเล) | 373.1339 | 99.9839 | 211.97102[6] | 671.64102[6] | 0.00 | 33.00 | 80.00 | 60.00 |
จุดหลอมเหลวของไททาเนียม (ณ ระดับน้ำทะเล) | 1941 | 1668 | 3034 | 3494 | −2352 | 550 | 1334 | 883 |
อุณหภูมิของพื้นผิวดวงอาทิตย์ | 5800 | 5500 | 9900 | 10400 | −8100 | 1800 | 4400 | 2900 |
ดูเพิ่ม
แก้อ้างอิง
แก้- ↑ B.8 Factors for Units Listed Alphabetically from Thompson & Taylor 2008, pp. 45–69
- ↑ Pauken 2011, p. 20
- ↑ "Rankine". Merriam-Webster Dictionary. สืบค้นเมื่อ 2019-11-07.
- ↑ 4.0 4.1 4.2 The Coldest Inhabited Places on Earth; researchers of the Vostok Station recorded the coldest known temperature on Earth on July 21st 1983: −89.2 °C (−128.6 °F).
- ↑ 5.0 5.1 5.2 "World: Highest Temperature". Arizona State University, School of Geographical Sciences. November 12, 2007. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ January 4, 2013.
an Italian weather station in al 'Aziziyah (Libya) measured a temperature of 58 °C (136.4 °F) on September 13th 1922. "Although this record has gained general acceptance as the world's highest temperature recorded under standard conditions, the validity of the extreme has been questioned."
- ↑ 6.0 6.1 "Comparison of temperature scales". Tampile. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-06-13. สืบค้นเมื่อ 2020-05-22.