บีมาเรสทอน
บีมาเรสทอน (เปอร์เซีย: بيمارستان, อักษรโรมัน: bīmārestān; อาหรับ: بِيْمَارِسْتَان, อักษรโรมัน: bīmāristān) หรือ dar al-shifa (หรือ darüşşifa ในภาษาตุรกี) หรือ maristan หมายถึงโรงพยาบาลในประวัติศาสตร์ของโลกอิสลาม[1][2]
ศัพทมูลวิทยา
แก้Bimaristan มาจากคำภาษาเปอร์เซีย بیمارستان bīmārestān แปลว่า "โรงพยาบาล" โดย bimar- มาจากภาษาปาห์ลาวี vīmār หรือ vemār แปลว่าคนป่วย กับ -stan เป็นคำต่อท้ายหมายถึงสถานที่[1] นอกจากนี้ คำว่า 'Bimaristan' ยังเป็นคำที่มีรากมาจากภาษาเปอร์เซียหมายถึง "แหล่งกำเนิดของโรค"[3]
ประวัติศาสตร์
แก้โรงพยาบาลสนามถือเป็นบีมาเรสทอนในยุคแรก[4] ซึ่งมีให้บริการยา อาหาร และน้ำ พร้อมกับแพทย์และเภสัชกร[4] ตามธรรมเนียมถือว่าบิมาริสถานแรกอยู่ในกระโจมที่ตั้งขึ้นโดย Rufaidah al-Asalmia ใน ค.ศ. 627 ระหว่างยุทธการสนามเพลาะ[4][5] ในโลกอิสลามซึ่งกว้างใหญ่นั้นมีเมืองสำคัญที่มีบิมาริสถานสำคัญและเป็นที่รู้จักมาก คือ แบกแดด, ดามัสกัส และ ไคโร[1]
อ้างอิง
แก้- ↑ 1.0 1.1 1.2 "Islamic Culture and the Medical Arts: Hospitals". www.nlm.nih.gov. สืบค้นเมื่อ 2018-04-24.
- ↑ "BrillOnline Reference Works". referenceworks.brillonline.com (ภาษาอังกฤษ). Koninklijke Brill NV. 2017. สืบค้นเมื่อ 2018-04-25.
- ↑ Miller, A. C. (2006-12-01). "Jundi-Shapur, bimaristans, and the rise of academic medical centres". Journal of the Royal Society of Medicine (ภาษาอังกฤษ). 99 (12): 615–617. doi:10.1177/014107680609901208. ISSN 0141-0768. PMC 1676324. PMID 17139063.
- ↑ 4.0 4.1 4.2 Miller, Andrew C. (December 2006). "Jundi-Shapur, bimaristans, and the rise of academic medical centres," Journal of the Royal Society of Medicine. 99: 615–617.
- ↑ Miller, A. C. (2006-12-01). "Jundi-Shapur, bimaristans, and the rise of academic medical centres". Journal of the Royal Society of Medicine (ภาษาอังกฤษ). 99 (12): 615–617. doi:10.1177/014107680609901208. ISSN 0141-0768. PMC 1676324. PMID 17139063.