ไดโอรามา
บทความนี้ไม่มีการอ้างอิงจากแหล่งที่มาใด |
ไดโอรามา คือ อุปกรณ์ที่ใช้โชว์ที่กล่าวถึงอุปกรณ์ในละครถึงสิ่งที่เคลื่อนที่ได้ถูกต้อง คือ การใช้หลักจำลองแบบ 3 มิติ ที่โดยปกติจะห่อหุ้มและเก็บไว้ในตู้โชว์ในพิพิธภัณฑ์ ดาแกรี่ ไดโอรามา
แบบพื้นและหน้าตัดสำหรับไดโอรามาในลอนดอน ไดโอรามาเป็นที่นิยมในสถานบันเทิงในปารีส อังกฤษ สก๊อตแลนด์และไอร์แลนด์ ตั้งแต่ปี 1822 - 1880 และเป็นทางเลือกซึ่งเป็นที่นิยม "ทัศนียภาพทั้งหมด" ไดโอรามา คือ เทคโนโลยีที่เกี่ยวกับโรงละครโดยมุมมองของคนดูที่อยู่ในที่สูงและในชั้นพิเศษในโรงละคร ที่มีผู้ชมกว่า 350 คน ในแฟ้มเอกสารมุมมองของภูมิทัศมันสามารถเปลี่ยนภาพลักษณ์ของทั้งสองและในการแสดงละคร ที่ยืนอยู่แม้ว่าจะมีที่นั่งจำกัดหรือที่จัดหาไว้ให้ในการแสดงล่าสุด 10 - 15 นาที ก่อนหน้าที่เวลาที่ผู้ชมทั้งหมดจะเข้ามาโดยทำมุมมองทั้งสองมุมมอง ซึ่งต่อมาเป็นต้นแบบสำหรับโรงภาพยนตร์ไดโอรามา 3 มิติ
ขนาดและสัดส่วนของหน้าเวที คือ กว้าง 24 ฟุต สูง 21 ฟุต (7.3*6.4 เมตร) โดยจะทำฉากและสีด้วยมือ คือ การทำให้มันโปร่งใสโดยเลือกพื้นที่ที่จะทำให้โปร่งใสและในเรื่องที่มีขั้นตอนมาก ๆ จะจัดเตรียมแผ่นลินินในส่วนของความลึกและทำให้สว่างโดยใช้แสงไฟเป็นตัจัดการ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความเข้มข้นของแสงที่แสงทำงานเต็มที่จะทำให้ฉากเปลี่ยนไปโดยผลกระทบที่เกิดจากการจะทำด้วยความประณีต ทำให้นักวิจารณ์และผู้ชมประหลาดใจและเชื่อในสิ่งที่กำลังดูฉากที่เป็นธรรมชาติอยู่
นักประดิษฐ์และเจ้าของลิขสิทธิ์ของไดโอรามา คือ ลุย ฌัก ม็องเด ดาแกร์ (ในปี 1789-1815) ก่อนหน้านี้ผู้ตกแต่และผู้ผลิตกระจกสำหรับสีภูมิทัศน์และผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบด้านสีของด้านเทตนิคเวทีให้เข้าใจก่อน ต่อมาดาแกรี่ได้รับเป็นที่ปรึกษาของดาแกโรไทป์เป็นที่แรกและใช้อย่างกว้างขวางสำหรับวิธีการถ่ายภาพ
ไดโอรามาสมัยใหม่แก้ไข
ไดโอรามาในพิพิธภัณฑ์ ประวัติทางธรรมชาติ(อิตาลี)เป็นกระแสที่นิยมมาก สำหรับหัวข้อ "ไดโอรามา" ได้แสดงถึง 3 มิติ บางส่วนสำเนาหรือขนาดแบบจำลองสำหรับภูมิทัศน์ในแบบฉบับที่โชว์ในประวัติผลงานฉากธรรมชาติ,ทิวทัศน์ของเมือง สำหรับผู้ที่ต้องการศึกษาหรือเพื่อความบันเทิง แฟร็งค์ เอ็ม แชปแมน หัวหน้าผู้ดูแลพิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ธรรมชาติอเมริกาในระหว่างศตวรรษที่ 19-20 ช่วยทำให้มันเป็นที่นิยมจนถึงทุกวันนี้
พิพิธภัณฑ์ไดโอรามาได้บรรยายให้ทหารราบของอเมริกาถึงการโต้กลับแนวสมัยใหม่ "พิพิธภัณฑ์ไดโอรามา" ทันอาจจะเป็นส่วนหลัก ๆ ในพิพิธภัณฑ์ประวัตศาสตร์ทางธรรมชาติ ในฉบับที่โชว์นั้น ใช้อธิบายถึงพื้นทีในระบบพื้นผิวของสีของพื้นที่หลังที่ห่างไกลจากวัตถุและที่ใช้บ่อย ๆ ในการปรับปรุงสัดส่วนของมุมมองอย่างระมัดระวังโดยการเปลี่ยนแปลงของขนาดและสถานที่วัตถุบนแบบ ทำให้พื้นผิวที่ไม่ถูกต้องดีขึ้นในแนวคิดสำหรับมุมมองในพื้นที่ใหญ่ ๆ คำอธิบายสำหรับวัตถุ (เหมือนกัยขนาดจามจริง) พื้นที่ที่มากขึ้น สำหรับผู้สังเกตการณ์และพื้นที่เล็ก ๆ กว่าให้ใกล้และดีขึ้น บ่อย ๆ ครั้งสีพื้นหลังที่ห่างไกลหรือท้องฟ้าจะมีสีซึ่งเชื่อมติดต่อกันกับพื้นผิวที่โค้งจะมีมุมมองที่ทำให้ไม่ไขว้เขวโดยมุมตะเข็บหรือขอบทั้งหมดนั้นใช้เทคนิคซึ่งอธิบายได้ว่าสามารถปฏิบัติได้จริง จากมุมมองของฉากที่ใหญ่และในพื้นที่ที่กระชับ ภาพที่มุมมองเดียวสำหรับไดโอรามานั้นสามารถทำได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากหัวข้อที่ไม่สามารถทำให้ไข้วเขวได้โดยมช้แนวคิดและความเข้าใจ
มิเนเจอร์ไดโอรามา ใช้อธิบายถึงฉากสำหรับแสดงถึงประวัติและผลงาน(ภาพวาดของทหารที่มีชื่อเสียงในระหว่างการสู้รบ) ซึ่งเป็นตัวอย่างสำหรับรูปแบบไดโอรามาซึ่งอาจเห็นที่ Norges HJemmefrontmuseum (Norwegian Resistance Museum) ในเมืองออโซล่ของนอร์เวย์ ในห้องสี่เหลี่ยมการเคหะสามารถทำได้โดยใช้ไดโอรามา (โดยภูมิทัศน์สิ่งก่อสร้างรอบ ๆ แบบจำลองรถไฟถึงแม้ว่าบ่อย ๆ ครั้ง พวกเรามีการประณีประนอมขนาดที่ถูกต้องให้ดีกว่าคุณลักษณธที่เป็นอยู่ หนึ่งในนั้นโดยส่วนใหญ่ไดโอรามาจะสร้างแบบจำลองเวทีทั้งหมดให้แคลิฟอร์เนีย์และงานแสดงสินค้าระดับโลกที่ซานฟรานซิสโกและการก่อสร้างซานฟรานซิวโกเฟอรี่บิวดิ้งซึ่งใช้เวลาการติดตั้งที่ยาวนาน
บทความนี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยการเพิ่มเติมข้อมูล หมายเหตุ: ขอแนะนำให้จัดหมวดหมู่โครงให้เข้ากับเนื้อหาของบทความ (ดูเพิ่มที่ วิกิพีเดีย:โครงการจัดหมวดหมู่โครงที่ยังไม่สมบูรณ์) |