ทร็อลล์
ทร็อลล์ (นอร์สเก่า: trǫll) เป็นสิ่งเหนือธรรมชาติในเทพปกรณัมนอร์สและคติชาวบ้านสแกนดิเนเวีย แต่เดิม ทร็อลล์อาจเป็นไวพจน์ลบของยอตุนน์ ในแหล่งข้อมูลนอร์สเก่า สิ่งที่อธิบายว่าทร็อลล์อาศัยอยู่ตามหิน ภูเขา หรือถ้ำสันโดษ โดยอยู่กันเป็นหน่วยครอบครัวเล็ก ๆ และแทบไม่ช่วยมนุษย์
ต่อมา ในคติชาวบ้านสแกนดิเนเวีย ทร็อลล์เป็นสิ่งแยกต่างหาก ซึ่งอาศัยอยู่ไกลจากที่มนุษย์อาศัย และไม่เข้ารีตศาสนาคริสต์ และถือว่าเป็นอันตรายต่อมนุษย์ ลักษณะของทร็อลล์แตกต่างกันมาก ขึ้นอยู่กับภูมิภาคซึ่งนิยายนั้นกำเนิด อาจอัปลักษณ์และโง่หรือดูและประพฤติเหมือนมนุษย์ทุกประการ โดยไม่มีลักษณะวิลักษณ์เฉพาะเกี่ยวกับพวกมัน
ศัพทมูลวิทยา
แก้รูปกริยา troll และ tröll ในภาษานอร์สเก่า (มีความหมายว่า "อสูร, ปีศาจ, มนุษย์หมาป่า, ยอตุนน์") และ troll, trolle แปลว่า "อสูร" ในภาษาเยอรมันสูงตอนกลาง (Vladimir Orel นักนิรุกติศาสตร์กล่าวว่าคำนี้น่าจะยืมมาจากภาษานอร์สเก่า) มีที่มาจากคำนามเพศกลางภาษาเจอร์แมนิกดั้งเดิม *trullan แต่ยังไม่มีใครทราบต้นกำเนิดศัพท์ภาษาเจอร์แมนิกดั้งเดิม[1] นอกจากนี้ ในรูปกริยา trylla 'เพื่อร่ายมนตร์ เพื่อกลายเป็นทร็อลล์' ในภาษานอร์สเก่า และรูปกริยา trüllen "เพื่อกระพือ" ในภาษาเยอรมันสูงตอนกลางยังมีที่มาจากรูปกริยาภาษาเจอร์แมนิกดั้งเดิม *trulljanan ซึ่งแผลงจาก *trullan ด้วย[1]
ในวัฒนธรรมร่วมสมัย
แก้ทร็อลล์ปรากฏตัวในนิยายสมัยใหม่หลายเรื่อง โดยเฉพาะในหมวดหมู่แฟนตาซี ตัวอย่างผลงานที่มีทร็อลล์ในนั้นได้แก่มิดเดิลเอิร์ธของโทลคีน[2] หรือเกมเล่นตามบทบาท ดันเจียนส์แอนด์ดรากอนส์[3]
อ้างอิง
แก้- ↑ 1.0 1.1 Orel (2003:410-411).
- ↑ Hartley, Gregory (2014). "Civilized goblins and Talking Animals: How The Hobbit Created Problems of Sentience for Tolkien". ใน Bradford Lee Eden (บ.ก.). The Hobbit and Tolkien's mythology : essays on revisions and influences (PDF). Vol. Part III: Themes. McFarland. ISBN 978-0-7864-7960-3. OCLC 889426663.[ลิงก์เสีย]
- ↑ Slavicsek, Bill; Baker, Rich; Grubb, Jeff (2006). Dungeons & Dragons For Dummies. For Dummies. p. 373. ISBN 978-0-7645-8459-6. สืบค้นเมื่อ 2009-02-12.
บรรณานุกรม
แก้- Ármann Jakobsson (2006). "The Good, the Bad and the Ugly: Bárðar saga and Its Giants" in The Fantastic in Old Norse/Icelandic Literature, pp. 54–62. Available online at dur.ac.uk (archived version from March 4, 2007)
- Ármann Jakobsson (2008). "The Trollish Acts of Þorgrímr the Witch: The Meanings of Troll and Ergi in Medieval Iceland" in Saga-Book 32 (2008), 39–68.
- Kvideland, Reimund. Sehmsdorf, Henning K. (editors) (2010). Scandinavian Folk Belief and Legend. University of Minnesota Press. ISBN 978-0-8166-1967-2
- Lindow, John (1978). Swedish Folktales and Legends. University of California Press. ISBN 0-520-03520-8
- Lindow, John (2007). "Narrative Worlds, Human Environments, and Poets: The Case of Bragi" as published in Andrén, Anders. Jennbert, Kristina. Raudvere, Catharina. Old Norse Religion in Long-Term Perspectives. Nordic Academic Press. ISBN 978-91-89116-81-8 (google book)
- MacCulloch, John Arnott (1930). Eddic Mythology, The Mythology of All Races In Thirteen volumes, Vol. II. Cooper Square Publishers.
- Narváez, Peter (1997). The Good People: New Fairylore Essays (The pages referenced are from a paper by Alan Bruford entitled "Trolls, Hillfolk, Finns, and Picts: The Identity of the Good Neighbors in Orkney and Shetland"). University Press of Kentucky. ISBN 978-0-8131-0939-8
- Orchard, Andy (1997). Dictionary of Norse Myth and Legend. Cassell. ISBN 0-304-34520-2
- Orel, Vladimir (2003). A Handbook of Germanic Etymology. Brill. ISBN 9004128751
- Simek, Rudolf (2007) translated by Angela Hall. Dictionary of Northern Mythology. D.S. Brewer ISBN 0-85991-513-1
- Thorpe, Benjamin (1851). Northern Mythology, Compromising the Principal Traditions and Superstitions of Scandinavia, North Germany, and the Netherlands: Compiled from Original and Other Sources. In three Volumes. Scandinavian Popular Traditions and Superstitions, Volume 2. Lumley.