โกฐ (ภาษาโบราณอาจเขียนเป็น โกฎ โกฎ โกฎฐ์ โกด หรือ โกษฐ์)[1] หมายถึง กลุ่มของสมุนไพรจำพวกหนึ่ง จัดเป็นกลุ่มต่างๆ ได้เช่น โกฐทั้งห้า โกฐทั้งเจ็ด โกฐทั้งเก้า รวมถึงมีโกฐพิเศษอีกสามชนิด

- โกฐทั้งห้า ได้แก่

- โกฐทั้งเจ็ด รวมโกฐทั้งห้าที่กล่าวมาและเพิ่มอีกสองชนิด ได้แก่

  • โกฐกระดูก คือ เหง้าแห้งของพืช Aucklandia lappa Dcne.
  • โกฐก้านพร้าว หรือ โกฐก้านมะพร้าว คือ รากแห้งของพืช Picrorhiza kurroa

- โกฐทั้งเก้า รวมโกฐทั้งเจ็ดที่กล่าวมาและเพิ่มอีกสองชนิด ได้แก่

  • โกฐพุงปลา (อีสานเรียก ปูดกกส้มมอ) คือ สิ่งที่นูนปูดขึ้นมาตามกิ่งและใบของไม้ต้นหลายชนิด ในสกุล Terminalia วงศ์ Combretaceae เช่น สมอไทย (Terminalia chebula Retz.)
  • โกฐชฎามังษี หรือ โกฐชฎามังสี คือ รากแห้งของพืชล้มลุก Nardostachys jatamansi DC. ในวงศ์ Valerianaceae

และ โกฐพิเศษ อีกสามชนิดด้วยกัน ได้แก่

อีกทั้งยังมีเครื่องยาที่มีชื่อเรียกว่า โกฐอื่นๆ ปรากฏอยู่ตามพระคัมภีร์ทางการแพทย์แผนไทยหรือในตำรายาต่างๆ อยู่อีกเจ็ดชนิดด้วยกัน ได้แก่

ดูเพิ่ม แก้

  • โกด เสียงของคำในภาษาไทยที่มีหลายรูปและหลายความหมาย

อ้างอิง แก้

  1. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒