เรือหลวงปรินส์ออฟเวลส์ (R09)

เรือหลวงปรินส์ออฟเวลส์ (อังกฤษ: HMS Prince of Wales (R09)) เป็นเรือบรรทุกเครื่องบินชั้นควีนเอลิซาเบธ ที่กำลังอยู่ระหว่างก่อสร้างโดยราชนาวี มีกำหนดแล้วเสร็จในปีค.ศ. 2020 ถือเป็นเรือหลวงลำที่เจ็ดที่ได้รับพระราชทานนาม ปรินส์ออฟเวลส์ เพื่อเฉลิมพระเกียรติเจ้าชายแห่งเวลส์องค์ปัจจุบัน การก่อสร้างเริ่มขึ้นในปีค.ศ. 2011 และมีกำหนดส่งมอบแก่ราชนาวีในปีค.ศ. 2019 เรือลำนี้จะพร้อมออกปฏิบัติการในแนวหน้าทั่วทุกมุมโลกราวปีค.ศ. 2023

เรือหลวง ปรินส์ออฟเวลส์ เดือนกันยายน 2019
ประวัติ
สหราชอาณาจักร
ชื่อHMS Prince of Wales
ตั้งชื่อตามเจ้าชายแห่งเวลส์
ผู้ให้บริการราชนาวี
Ordered20 พฤษภาคม ค.ศ. 2008
อู่เรือAircraft Carrier Alliance
ปล่อยเรือ26 พฤษภาคม 2011[3]
เดินเรือแรก21 ธันวาคม ค.ศ. 2017
สนับสนุนโดยดัชเชสแห่งคอร์นวอล
Christened8 กันยายน ค.ศ. 2017
เข้าประจำการธันวาคม ค.ศ. 2019 (คาดการณ์)[1][2]
ท่าจอดพอร์ตสมัท
รหัสระบุ
คำขวัญIch Dien ("I Serve")
สถานะSea Trials[4]
ลักษณะเฉพาะ
ชั้น: เรือบรรทุกเครื่องบินชั้นควีนเอลิซาเบธ
ขนาด (ระวางขับน้ำ): 65,000 ตัน[5]
ความยาว: 284 m (932 ft)[6]
ความกว้าง:
  • 39 m (128 ft)(waterline)
  • 73 m (240 ft) overall
กินน้ำลึก: 11 เมตร[7]
ดาดฟ้า: 16,000 ตารางเมตร
ความเร็ว: 25 นอต (46 กิโลเมตรต่อชั่วโมง)
พิสัยเชื้อเพลิง: 10,000 ไมล์ทะเล (19,000 กิโลเมตร)
ความจุ: 1,600 คน
กำลังพล: 250 นาย
อัตราเต็มที่: 679 นาย
ระบบตรวจการและปฏิบัติการ:
  • เรดาร์พิสัยไกล S1850M
  • เรดาร์พิสัยกลาง Type 997 Artisan 3D
  • Ultra Electronics Series 2500 Electro Optical System (EOS)
  • Glide Path Camera (GPC)
ยุทโธปกรณ์:
  • Phalanx CIWS
  • 30 mm multiple barrel rotating cannon to counter asymmetric threats.[8]
  • อากาศยาน:
  • Current planned Carrier Air Wing of up to 40 aircraft
  • (50 full load – can be expanded to 70+):[9][10][11]
  • อุปกรณ์สนับสนุนการบิน:
  • โรงเก็บเครื่องบินใต้ดาดฟ้า
  • ลิฟท์อากาศยาน (2 ตัว)
  • สกีจัมป์
  • เรือหลวงปรินส์ออฟเวลส์ (R09) แตกต่างจากเรือบรรทุกเครื่องบินแบบอื่นๆ กล่าวคือไม่ได้ติดตั้งเครื่องยิงปล่อยอากาศยาน (catapult) และระบบช่วยลดความเร็วอากาศยานในการลงจอด (arresting gear) เนื่องจากเรือลำนี้ถูกออกแบบให้ใช้กับอากาศยานขึ้นลงแนวดิ่ง ปัจจุบันเรือลำนี้มีแผนประจำการเครื่องบินรบหลากบทบาทรุ่น F-35B ไลท์นิง 2 จำนวน 40 ลำ และเฮลิคอปเตอร์รุ่น AW101 ที่ติดตั้งระบบแจ้งเตือนภัยทางอากาศล่วงหน้า (airborne early warning) และติดตั้งอุปกรณ์ปราบเรือดำน้ำ อย่างไรก็ตาม ศักยภาพสูงสุดของเรือลำนี้สามารถบรรทุกเครื่องบิน F-35 ได้ถึง 70 ลำ

    อ้างอิง แก้

    1. "Britain's second carrier sets sail for sea trials". UK Ministry of Defence. 19 September 2019. สืบค้นเมื่อ 20 September 2019.
    2. "HMS Prince of Wales hits top speed at sea". Royal Navy. Scotland. 2 October 2019. สืบค้นเมื่อ 2 October 2019.
    3. "Steel cut on second super-carrier". Navy News.[ลิงก์เสีย]
    4. "House of Commons Hansard Written Answers for 21 Nov 2011". HM Government. 21 November 2011. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 November 2011. สืบค้นเมื่อ 22 November 2011.
    5. "Queen Elizabeth class". royalnavy.mod.uk. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 December 2018. สืบค้นเมื่อ 12 January 2018.
    6. "Queen Elizabeth Class". Royal Navy. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 August 2013. สืบค้นเมื่อ 21 August 2013.
    7. "Future Aircraft Carrier (CVF)". Ministry of Defence. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 พฤษภาคม 2008. สืบค้นเมื่อ 21 พฤษภาคม 2008.
    8. "Queen Elizabeth class: facts and figures". Royal Navy. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 July 2011. สืบค้นเมื่อ 28 July 2011.
    9. Royal Navy – Global Force 2013 (PDF) (graphic), Press Association, p. 86[ลิงก์เสีย] – source: Royal Navy.
    10. What will the Queen Elizabeth class carriers carry?, UK Defence Journal, เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 February 2017, สืบค้นเมื่อ 24 January 2017 – source: UK Defence Journal.
    11. "Replacing the Invincibles: inside the Royal Navy's controversial £6.2 billion warships", Wired, เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 September 2017, สืบค้นเมื่อ 29 August 2017 – source: Wired UK
    12. "Fleet Air Arm: future aircraft". Royal Navy. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 September 2011. สืบค้นเมื่อ 18 September 2011.