เฉลิมไทยอวอร์ด ครั้งที่ 4

เฉลิมไทยอวอร์ด ครั้งที่ 4 เป็นกิจกรรมที่จัดโดยสมาชิกเว็บไซต์ พันทิปดอตคอม โต๊ะเฉลิมไทย เพื่อยกย่อง เชิดชู ผลงานดีเด่น ทางด้านภาพยนตร์ ตลอดปี พ.ศ. 2549 ซึ่งได้มีการประกาศผลรางวัล ผ่านหน้ากระทู้เฉลิมไทย[2] ไปในวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550

สัญลักษณ์ในการประกาศรางวัล "เฉลิมไทยอวอร์ด ครั้งที่ 4" ออกแบบโดย BAYROCKU[1]

ปีนี้ เป็นปีแรก ที่ เฉลิมไทยอวอร์ด เป็นการมอบรางวัลผลงานทางด้านภาพยนตร์เท่านั้น ซึ่งก็เป็นผลมาจาก การแยกตัวของหัวข้อกระทู้เกี่ยวกับดนตรี ออกจากโต๊ะ "เฉลิมไทย" ไปยังโต๊ะ "เฉลิมกรุง" ซึ่งจัดตั้งขึ้นมาใหม่ การเปลี่ยนแปลงครั้งนี้จึง เปิดช่องว่างให้ เฉลิมไทยอวอร์ด สามารถยกย่อง ภาพยนตร์ และบุคคลต่าง ๆ ที่มีผลงาน ดีเด่นด้านภาพยนตร์รอบปี ได้มากสาขาขึ้น

นอกจากนี้ ยังมีการเพิ่มสาขาขึ้นมาใหม่อีกหนึ่งสาขา นั่นคือ สาขาภาพยนตร์ยอดเยี่ยมประเภท ฉายแบบจำกัดโรง (Outstanding Limitedly Released Films) สำหรับภาพยนตร์ดีเด่นในรอบปี ที่เข้าฉายในประเทศไทย แต่ฉายในวงจำกัดเฉพาะโรงภาพยนตร์บางแห่งในกรุงเทพมหานคร อีกด้วย

ผลรางวัลเฉลิมไทยอวอร์ด ครั้งที่ 4[2] แก้

สาขาภาพยนตร์ต่างประเทศแห่งปี แก้

ผู้ชนะ
ผู้เข้าชิงอื่น ๆ
  • The Constant Gardener
  • Match Point
  • United 93
  • Walk the Line

สาขาภาพยนตร์ไทยแห่งปี แก้

ผู้ชนะ
ผู้เข้าชิงอื่น ๆ

สาขาผู้กำกับภาพยนตร์ต่างประเทศแห่งปี แก้

ผู้ชนะ
ผู้เข้าชิงอื่น ๆ
  • Fernando Meirelles จาก The Constant Gardener
  • Martin Scorsese จาก The Departed
  • Paul Greengrass จาก United 93
  • Woody Allan จาก Match Point

สาขาผู้กำกับภาพยนตร์ไทยแห่งปี แก้

ผู้ชนะ
ผู้เข้าชิงอื่น ๆ

สาขานักแสดงชายในบทนำจากภาพยนตร์ต่างประเทศแห่งปี แก้

ผู้ชนะ
ผู้เข้าชิงอื่น ๆ
  • Joaquin Phoenix จาก Walk the Line
  • Leonardo DiCaprio จาก The Departed
  • Philip Seymour Hoffman จาก Capote
  • Ralph Fiennes จาก The Constant Gardener

สาขานักแสดงหญิงในบทนำจากภาพยนตร์ต่างประเทศแห่งปี แก้

ผู้ชนะ
  • Meryl Streep จาก The Devil Wears Prada
ผู้เข้าชิงอื่น ๆ
  • Felicity Huffman จาก Transamerica
  • Julia Jentsch จาก Sophie Scholl: The Final Days
  • Reese Witherspoon จาก Walk The Line
  • Scarlett Jahanson จาก Match Point

สาขานักแสดงชายในบทนำจากภาพยนตรไทยแห่งปี แก้

ผู้ชนะ
ผู้เข้าชิงอื่น ๆ

สาขานักแสดงหญิงในบทนำจากภาพยนตรไทยแห่งปี แก้

ผู้ชนะ
ผู้เข้าชิงอื่น ๆ

สาขานักแสดงชายในบทสมทบจากภาพยนตร์ต่างประเทศแห่งปี แก้

ผู้ชนะ
ผู้เข้าชิงอื่น ๆ
  • Jack Nicholson จาก The Departed
  • Jacky Cheung จาก Perhaps Love
  • Mark Wahlberg จาก The Departed
  • Michael Caine จาก The Prestige

สาขานักแสดงชายในบทสมทบจากภาพยนตร์ไทยแห่งปี แก้

ผู้ชนะ
ผู้เข้าชิงอื่น ๆ
  • โก๊ตี๋ อารามบอย จาก แสบสนิท ศิษย์ส่ายหน้า
  • โกวิท วัฒนกุล จาก กระสือวาเลนไทน์
  • ยาโน คาซูกิ จาก เพราะอากาศเปลี่ยนแปลงบ่อย
  • ยาโน คาซูกิ จาก แก๊งชะนีกับอีแอบ

สาขานักแสดงหญิงในบทสมทบจากภาพยนตร์ต่างประเทศแห่งปี แก้

ผู้ชนะ
  • Gong Li จาก Memoirs of Geisha
ผู้เข้าชิงอื่น ๆ
  • Emily Blunt จาก The Devil Wears Prada
  • Maggie Gyllenhaal จาก World Trade Center
  • Michelle Williams จาก Brokeback Mountain
  • Rachel Weisz จาก The Constant Gardener

สาขานักแสดงหญิงในบทสมทบจากภาพยนตร์ไทยแห่งปี แก้

ผู้ชนะ
ผู้เข้าชิงอื่น ๆ

สาขาบทภาพยนตร์ต่างประเทศแห่งปี แก้

ผู้ชนะ
  • Brokeback Mountain
ผู้เข้าชิงอื่น ๆ

สาขาบทภาพยนตร์ไทยแห่งปี แก้

ผู้ชนะ
ผู้เข้าชิงอื่น ๆ

สาขาภาพยนตร์แอนิเมชันแห่งปี แก้

ผู้ชนะ
  • ก้านกล้วย
ผู้เข้าชิงอื่น ๆ
  • Cars
  • Happy Feet

ภาพยนตร์ยอดเยี่ยมประเภทภาพยนตร์ฉายแบบจำกัดโรง แก้

ผู้ชนะ
ผู้เข้าชิงอื่น ๆ
  • Capote
  • An Inconvenient Truth
  • Me and You and Everyone We Know
  • Sophie Scholl: The Final Days
  • The Village Album

สาขางานภาพในภาพยนตร์แห่งปี (ถ่ายภาพ/ลำดับภาพ) แก้

ผู้ชนะ
ผู้เข้าชิงอื่น ๆ

สาขางานศิลป์ในภาพยนตร์แห่งปี (กำกับศิลป์/เครื่องแต่งกาย/แต่งหน้า) แก้

ผู้ชนะ
  • Memoirs of a Geisha
ผู้เข้าชิงอื่น ๆ

สาขางานเสียงในภาพยนตร์แห่งปี (บันทึกเสียง/ตัดต่อเสียง) แก้

ผู้ชนะ
  • Pirates of the Caribbean: Dead Man's Chest
ผู้เข้าชิงอื่น ๆ
  • Cars
  • Casino Royale
  • Superman Returns
  • Walk The Line

สาขาดนตรีประกอบแห่งปี แก้

ผู้ชนะ
ผู้เข้าชิงอื่น ๆ
  • Brokeback Mountain
  • The Constant Gardener
  • The Da Vinci Code
  • Memoirs of a Geisha

สาขาเพลงในภาพยนตร์แห่งปี แก้

ผู้ชนะ
ผู้เข้าชิงอื่น ๆ
  • "I Need To Wake Up" จาก An Inconvenient Truth
  • "A Love That Will Never Grow Old" จาก Brokeback Mountain
  • "Song of The Heart" จาก Happy Feet
  • "You Know My Name" จาก Casino Royale

สาขาเทคนิคพิเศษทางภาพแห่งปี แก้

ผู้ชนะ
  • Pirates of the Caribbean: Dead Man's Chest
ผู้เข้าชิงอื่น ๆ
  • Superman Returns
  • X3: The Last Stand

สรุปรายชื่อผู้เข้าชิง แก้

ภาพยนตร์ 36 เรื่องดังต่อไปนี้ ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิง เฉลิมไทยอวอร์ด ครั้งที่ 4

สรุปรายชื่อผู้ชนะ แก้

ภาพยนตร์ 9 เรื่องดังต่อไปนี้ ได้รับการลงคะแนนเป็นผู้ชนะ เฉลิมไทยอวอร์ด ครั้งที่ 4

ชนะใน 6 สาขา
(ภาพยนตร์ไทยแห่งปี, ผู้กำกับภาพยนตร์ไทยแห่งปี, นักแสดงหญิงในบทนำจากภาพยนตรไทยแห่งปี, บทภาพยนตร์ไทยแห่งปี, ดนตรีประกอบแห่งปี, เพลงในภาพยนตร์แห่งปี)
(ภาพยนตร์ต่างประเทศแห่งปี, ผู้กำกับภาพยนตร์ต่างประเทศแห่งปี, นักแสดงชายในบทนำจากภาพยนตร์ต่างประเทศแห่งปี, นักแสดงชายในบทสมทบจากภาพยนตร์ต่างประเทศแห่งปี, บทภาพยนตร์ต่างประเทศแห่งปี, งานภาพในภาพยนตร์แห่งปี)
ชนะใน 2 สาขา
(นักแสดงชายในบทสมทบจากภาพยนตร์ไทยแห่งปี, นักแสดงหญิงในบทสมทบจากภาพยนตร์ไทยแห่งปี)
  • Memoirs of Geisha
(นักแสดงหญิงในบทสมทบจากภาพยนตร์ต่างประเทศแห่งปี, งานศิลป์ในภาพยนตร์แห่งปี)
  • Pirates of the Caribbean: Dead Man's Chest
(งานเสียงในภาพยนตร์แห่งปี, เทคนิคพิเศษทางภาพแห่งปี)
ชนะไปสาขาเดียว
  • 13 เกมสยอง
(นักแสดงชายในบทนำจากภาพยนตรไทยแห่งปี)
(ภาพยนตร์์แอนิเมชันแห่งปี)
(ภาพยนตร์ยอดเยี่ยมประเภทภาพยนตร์ฉายแบบจำกัดโรง)
  • The Devil Wears Prada
(นักแสดงหญิงในบทนำจากภาพยนตร์ต่างประเทศแห่งปี)

อ้างอิง แก้

  1. คุณ BAYROCKU พูดถึงการออกแบบโลโก้เฉลิมไทยอวอร์ด ครั้งที่ 4 bloggang.com เรียกดูล่าสุดเมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2551
  2. 2.0 2.1 กระทู้ประกาศผลเฉลิมไทยอวอร์ด ครั้งที่ 4 topicstock.pantip.com เรียกดูล่าสุดเมื่อวันที่ 10 มีนาคม 2551

แหล่งข้อมูลอื่น แก้