หลังคาเบงกอล (อังกฤษ: Bengal roof) หมายถึงหลังคาโค้งรูปโดมปลายโค้งลงที่มักพบในสถาปัตยกรรมโมกุลและราชปุตของอินเดียเหนือ เขาใจกันว่าหลังคาแบบนี้พึ่งมาปรากฏในสถาปัตยกรรมของอินเดียเหนือนับตั้งแต่ศตวรรษที่ 16 เป็นต้นมา และมีที่มาย้อนไปถึงหลังคาสานในชนทบทของเบงกอล[1]

จาลีที่ประดับด้วยหลังคาเบงกอลของหะวามหัล ชัยปุระ สร้างขึ้นด้วยสถาปัตยกรรมราชปุต

ลักษณะสำคัญของหลังคาเบงกอลคือรูปกว้างกึ่งโดม โค้งลงที่ปลายสองด้าน สามารถแบ่งชนิดหลังคาเบงกอลออกเป็นรูปแบบที่พบได้ทั่วไป คือ "โดจาลา" (do-chala), จารจาลา และ อัตจาลา[2][3]

อ้างอิง แก้

  1. "Kamat's Potpourri: Temples of West Bengal". www.kamat.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-09-11. สืบค้นเมื่อ 2019-10-03.
  2. "Architecture". Banglapedia. สืบค้นเมื่อ 6 September 2009.
  3. Amit Guha, Classification of Terracotta Temples, คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 31 January 2016, สืบค้นเมื่อ 20 January 2016