สื่อภาษามือ
สื่อภาษามือ เป็นสื่อที่ใช้ระบบสื่อสำหรับภาษามือ ส่วนต่อประสานในสื่อภาษามือถูกสร้างขึ้นบนโครงสร้างไวยากรณ์ที่ซับซ้อนของภาษามือ โดยทั่วไปสื่อจะได้รับการสร้างขึ้นสำหรับภาษาปากหรือภาษาเขียน และมักเข้ากันไม่ได้กับภาษามือ
สื่อภาษามือมีลักษณะเฉพาะ:
- ไม่มีเสียง หรือมีความถี่ต่ำมาก (เสียงทุ้ม)
- ไม่ใช้ข้อความ หรือใช้น้อยมาก
- กรอบกล้องเฉพาะสำหรับการถ่ายภาพระยะใกล้
เหตุการณ์สำคัญ
แก้- ยุคอนาล็อก:
- ยุคดิจิทัล:
- วิดีโอดิจิทัลและซอฟต์แวร์ - ส่วนต่อประสานภาษามือได้รับการสร้างขึ้นเพื่อเรียกดูเนื้อหา
- เวิลด์ไวด์เว็บ - ข้อมูลในภาษามือกลายเป็นใช้ได้สำหรับทุกคน
- วิดีโอโฟนและเว็บแคม - การสื่อสารด้วยภาษามือกลายเป็นสิ่งที่เป็นไปได้
- วิดีโอโฟนมือถือ - ยูเอ็มทีเอสให้การสนับสนุนสำหรับการสื่อสารโทรคมนาคมภาษามือ
- วิดีโอบล็อก - เว็บไซต์ข่าวภาษามือเริ่มเฟื่องฟูพร้อมการประท้วงต่อต้านเจน เฟอร์นันเดส
- การผลิตวิดีโอภาษามือโดยใช้อวตารที่สร้างจากคอมพิวเตอร์แทนที่จะเป็นภาพบุคคลจริง[2][3][4]
อ้างอิง
แก้- ↑ http://libguides.gallaudet.edu/content.php?pid=120564&sid=1037883
- ↑ Michael Kipp, Alexis Heloir, Quan Nguyen. Sign language avatars: Animation and comprehensibility. Volume 6895 of the series Lecture Notes in Computer Science pp 113-126. Link to article by Kipp, Heloir, and Nguyen.
- ↑ Sarah Ebling. 2013. Evaluating a Swiss German Sign Language Avatar among the Deaf Community. Link to access
- ↑ link to Spanish Sign Language videos done by software