รายพระนามผู้ปกครองวอลเลเกีย
(เปลี่ยนทางจาก รายพระนามผู้ปกครองวอลลาเซีย)
รายพระนาม แก้ไข
ราชวงศ์บาซารับ แก้ไข
พระนาม | พระบรมสาทิสลักษณ์ | รัชกาล | ราชสกุล | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|
โทโคเมอเรียส หรือ ราดู เนกรู | c. 1280 – 1310 | ราดู เนกรูคือประมุขในตำนานของวอลเลเกีย; นักประวัติศาสตร์สันนิษฐานว่าน่าจะเป็นพระนามลำลองใน โทโคเมอเรียส หรือ บาซารับที่ 1 | ||
บาซารับที่ 1 | c. 1310 – 1352 | ราชวงศ์บาซารับ | พระโอรสในเจ้าชายโทโคเมอเรียส เป็นผู้ปกครองที่มิใช่ตำนานพระองค์แรก; ภายหลังได้สมัญญาว่า Basarab Întemeietorul (บาซารับผู้สถาปนา); | |
นิโคเล อเล็กซานดรู | 1352–1364 | ราชวงศ์บาซารับ | พระราชโอรสในเจ้าชายบาซารับที่ 1 | |
วลาติสลาฟที่ 1 | c. 1364 – 1377 | ราชวงศ์บาซารับ | พระราชโอรส; also known as Vlaicu-Vodă | |
ราดูที่ 1 | c. 1377 – 1383 | ราชวงศ์บาซารับ | พระอนุชา | |
แดนที่ 1 | c. 1383 – 1386 | ราชสกุลดาเนสติ | พระราชโอรส | |
มีร์เซียที่ 1 (มีร์เซียผู้อาวุโส) |
1386–1394 | ราชวงศ์บาซารับ | พระอนุชา. รัชกาลแรก | |
วลาดที่ 1 (วลาดที่ 1 ผู้ชิงราชสมบัติ) |
1394–1397 | พระโอรสในเจ้าชายแดนที่ 1 | ||
มีร์เซียที่ 1 (Mircea I the Old) |
1397–1418 | ราชวงศ์บาซารับ | รัชกาลที่ 2 | |
ไมไฮที่ 1 | 1418–1420 | ราชวงศ์บาซารับ | พระโอรสในเจ้าชายมีร์เซียที่ 1 | |
แดนที่ 2 | 1420–1421 | ราชสกุลดาเนสติ | พระโอรสในเจ้าชายแดนที่ 1, สมาชิกภาคีมังกร; รัชกาลแรก | |
ราดูที่ 2 เซลดู (Radu II the Bald) |
1421 | ราชวงศ์บาซารับ | โอรสมีร์เซีย เซล เบตรัน; รัชกาลแรก | |
แดนที่ 2 | 1421–1423 | ราชสกุลดาเนสติ | รัชกาลที่ 2 | |
ราดูที่ 2 เซลดู | 1423 | Basarab | รัชกาลที่ 2 | |
แดนที่ 2 | 1423–1424 | ราชสกุลดาเนสติ | รัชกาลที่ 3 | |
ราดูที่ 2 เซลดู | 1424–1426 | Basarab | รัชกาลที่ 3 | |
แดนที่ 2 | 1426–1427 | ราชสกุลดาเนสติ | รัชกาลที่ 4 | |
ราดูที่ 2 เซลดู | 1427 | Basarab | รัชกาลที่ 4 | |
แดนที่ 2 | 1427–1431 | ราชสกุลดาเนสติ | รัชกาลที่ 5 | |
อเล็กซานดรูที่ 1 | 1431–1436 | ราชสกุลดรากุเลสติ | โอรสมีร์เซีย เซล เบตรัน | |
วลาดที่ 2 ดรากุล | 1436–1442 | ราชสกุลดรากุเลสติ | พระโอรสนอกกฎหมายในเจ้าชายมีร์เซียที่ 1; สมาชิกภาคีมังกร (ดรากุล); รัชกาลแรก | |
มีร์เซียที่ 2 | 1442 | ราชสกุลดรากุเลสติ | พระโอรสในเจ้าชายวลาดที่ 2 ดรากุล | |
บาซารับที่ 2 | 1442–1443 | ราชสกุลดาเนสติ | พระโอรสในเจ้าชายแดนที่ 2 | |
วลาดที่ 2 ดรากุล | 1443–1447 | ราชสกุลดรากุเลสติ | รัชกาลที่ 2 | |
วลาดิสลาฟที่ 2 | 1447–1448 | ราชสกุลดาเนสติ | พระโอรสในเจ้าชายแดนที่ 2; สนับสุนโดยยาโนส ฮุนยาดี ผู้สำเร็จราชการฮังการี; รัชกาลแรก | |
วาดที่ 3 ดรากูล่า (วลาดนักเสียบ) |
1448 | ราชสกุลดรากุเลสติ | พระโอรสในเจ้าชายวลาดที่ 2 ดรากุล; รัชกาลแรก | |
วลาดิสลาฟที่ 2 | 1448–1456 | ราชสกุลดาเนสติ | รัชกาลที่ 2 | |
วาดที่ 3 ดรากูล่า | 1456–1462 | ราชสกุลดรากุเลสติ | รัชกาลที่ 2 | |
ราดูที่ 3 เซล ฟรูมอส (Radu III the Fair) |
1462–1473 | ราชสกุลดรากุเลสติ | พระโอรสในเจ้าชายวลาดที่ 2 ดรากุล; รัชกาลแรก | |
บาซารับที่ 3 (Basarab III Laiotă the Elder) |
1473 | ราชสกุลดาเนสติ | พระโอรสในเจ้าชายแดนที่ 2; รัชกาลแรก | |
ราดูที่ 3 เซล ฟรูมอส | 1473–1474 | ราชสกุลดรากุเลสติ | รัชกาลที่ 2 | |
บาซารับที่ 3 | 1474 | ราชสกุลดาเนสติ | รัชกาลที่ 2 | |
ราดูที่ 3 เซล ฟรูมอส | 1474 | ราชสกุลดรากุเลสติ | รัชกาลที่ 3 | |
บาซารับที่ 3 | 1474 | ราชสกุลดาเนสติ | รัชกาลที่ 3 | |
ราดูที่ 3 เซล ฟรูมอส | 1474–1475 | ราชสกุลดรากุเลสติ | รัชกาลที่ 4 | |
บาซารับที่ 3 | 1475–1476 | ราชสกุลดาเนสติ | รัชกาลที่ 4 | |
วลาดที่ 3 ดรากูล่า | 1476 | ราชสกุลดรากุเลสติ | รัชกาลที่ 3 | |
บาซารับที่ 3 | 1476–1477 | ราชสกุลดาเนสติ | รัชกาลที่ 5 | |
บาซารับที่ 4 (Basarab IV Țepeluș the Younger) |
1477–1481 | ราชสกุลดาเนสติ | พระโอรสในเจ้าชายบาซารับที่ 2; รัชกาลแรก | |
มีร์เซีย | 1481 | พระโอรสนอกกฎหมายในเจ้าชายวลาดที่ 2 ดรากุล | ||
วลาดที่ 4 กาลูการูล (Vlad IV the Monk) |
1481 | ราชสกุลดรากุเลสติ | พระโอรสเจ้าชายวลาดที่ 2 ดรากุล; รัชกาลแรก | |
บาซารับที่ 4 | 1481–1482 | Dănești | รัชกาลที่ 2 | |
วลาดที่ 4 กาลูการูล | 1482–1495 | ราชสกุลดรากุเลสติ | รัชกาลที่ 2 | |
ราดูที่ 4 เซล มาเรล (Radu IV the Great) |
1495–1508 | ราชสกุลดรากุเลสติ | พระโอรสในเจ้าชายวลาดที่ 4 กาลูการูล | |
มีห์เนีย เซล ราอูล (Mihnea the Mean) |
1508–1509 | ราชสกุลดรากุเลสติ | พระโอรสในเจ้าชายวลาดที่ 3 เตเปส | |
มีร์เซียที่ 2 | 1509–1510 | ราชสกุลดรากุเลสติ | พระโอรสในเจ้าชายมีห์เนีย เซล ราอูล | |
วลาดที่ 5 เซล ตานาร์ (Vlad V the Younger) |
1510–1512 | ราชสกุลดรากุเลสติ | พระโอรสในเจ้าชายวลาด กาลูการูล; also known as Vlăduț | |
บาซารับที่ 5 | 1512–1521 | ราชสกุลไครโอเวสติ | โอรสใน ปาร์วู ไครโอเวสกู | |
เธโอโดซี | 1521–1522 | ราชสกุลไครโอเวสติ | ภายใต้การสำเร็จราชการของพระชนนี เดสปินา เอลีนา | |
ราดูที่ 5 | 1522–1523 | ราชสกุลดรากุเลสติ | พระโอรสนอกสมรสใน ราดู เซล มาเร; เป็นพันธมิตรกับพวกไครโอเวสติ; รัชกาลแรก | |
วลาดิสลาฟที่ 3 | 1523 | Dănești | พระภาคิไนยในเจ้าชายวลาติสลาฟที่ 2; รัชกาลแรก | |
ราดูที่ 6 บาดิกาล | 1523–1524 | ราชสกุลดรากุเลสติ | พระโอรสในเจ้าชาย ราดูที่ 4 มหาราช | |
ราดูที่ 5 | 1524 | Drăculești | รัชกาลที่ 2 | |
วลาดิสลาฟที่ 5 | 1524 | ราชสกุลดาเนสติ | รัชกาลที่ 2 | |
ราดูที่ 5 | 1524–1525 | ราชสกุลดรากุเลสติ | รัชกาลที่ 3 | |
วลาดิสลาฟที่ 3 | 1525 | ราชสกุลดรากุเลสติ | รัชกาลที่ 3 | |
ราดูที่ 5 | 1525–1529 | ราชสกุลดรากุเลสติ | รัชกาลที่ 4 | |
บาซารับที่ 6 | 1529 | โอรสเมห์เหม็ด เบย์ | ||
มัวเซ | 1529–1530 | ราชสกุลดาเนสติ | พระโอรสในเจ้าชายวลาติสลาฟที่ 3 | |
วลาดที่ 6 อิเนกาตุล (Vlad VI the Drowned) |
1530–1532 | ราชสกุลดรากุเลสติ | พระโอรสในเจ้าชายวลาด เซล ตานาร์ | |
วลาดที่ 7 วินติลา เดอ ลา สลาตินา | 1532–1535 | ราชสกุลดรากุเลสติ | พระโอรสในเจ้าชายราดู เซล มาเรล | |
ราดูที่ 7 ไปซี | 1535–1545 | ราชสกุลดรากุเลสติ | พระโอรสในวลาด วินติลา เด ลา สลาตินา | |
มีร์เซียที่ 4 ซีโอบานุล (Mircea IV the Shepherd) |
1545–1552 | ราชสกุลดรากุเลสติ | พระโอรสในเจ้าชายราดู เซล มาเรล; รัชกาลแรก | |
ราดูที่ 8 อิลี ไฮดาอุล (Radu VIII Ilie the Cowherd) |
1552–1553 | ราชสกุลดรากุเลสติ | พระโอรสในราดู เด ลา อาฟูมาตี | |
มีร์เซียที่ 4 ซีโอบานุล | 1553–1554 | ราชสกุลดรากุเลสติ | รัชกาลที่ 2 | |
ปาตราสกู เซล บัน (Pătrașcu the Kind) |
1554–1558 | ราชสกุลดรากุเลสติ | พระโอรสในราดู ไปซี | |
มีร์เซียที่ 4 ซีโอบานุล | 1558–1559 | ราชสกุลดรากุเลสติ | รัชกาลที่ 3 | |
ชิอัจนาแห่งมอลเดเวีย (Regent) |
1559-1564 | Regent on behalf of her son. | ||
เปตรูที่ 1 เซล ทานาร์ (Peter I the Younger) |
1564–1568 | ราชสกุลดรากุเลสติ | son of Mircea Ciobanul | |
อเล็กซานดรูที่ 2 มีร์เซีย | 1568–1574 | ราชสกุลดรากุเลสติ | son of Mircea III Dracul; popularly called Oaie Seacă (Barren Sheep); รัชกาลที่ 1 | |
วินติลา | 1574 | ราชสกุลดรากุเลสติ | พระโอรสในเปตรู ปาตราสกู เซล บัน | |
อเล็กซานดรูที่ 2 มีร์เซีย | 1574–1577 | ราชสกุลดรากุเลสติ | รัชกาลที่ 2 | |
แคทเธอรีน ซัลวาเรสโซ (สำเร็จราชการ) |
1577-1583 | Regent on behalf of her son, Mihnea II. Deposed by Peter II. | ||
เปตรูที่ 2 เซอร์เซล (Peter II Earring) |
1583–1585 | ราชสกุลดรากุเลสติ | พระโอรสในเปตรู ปาตราสกู เซล บัน | |
มีห์เนียที่ 2 ตูร์ซิตุล | 1585–1591 | ราชสกุลดรากุเลสติ | Paid for the assassination of his usurper. Returned and ruled alone. |
ราชวงศ์บอกดาน มูสาต แก้ไข
พระนาม | พระบรมสาทิสลักษณ์ | รัชกาล | ราชสกุล | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|
สตีเฟนที่ 1 ซูร์ดุล (Stephen the Deaf) |
1591–1592 | |||
อเล็กซานดรูที่ 3 เซล ราอู (Alexander III the Mean) |
1592–1593 | ยังคงปกครองมอลดาเวียร่วมด้วย (1592) |
ราชวงศ์ บาซารับ และ โมวิเลสติ แก้ไข
พระนาม | พระบรมสาทิสลักษณ์ | รัชกาล | ราชสกุล | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|
ไมไฮที่ 2 วิเตอาซูล (Michael II the Brave) |
1593–1600 | ราชสกุลดรากุเลสติ | พระโอรสนอกสมรสในเปตรู ปาตราสกู เซล บัน; ทรงปกครองทรานซิลเวเนีย (1599-1600) และ มอลดาเวีย (1600), ทรงปรารถนาอย่างแรงกล้าที่จะรวม 3 ราชรัฐ | |
นิโกเล ปาตราสกู | 1599–1600 | ราชสกุลดรากุเลสติ | พระโอรสในไมไฮที่ 2, ปกครองร่วมกับพระบิดาตั้งแต่ 1599 | |
ซิมอน โมวิลา | 1600–1601 | ราชสกุลโมวิเลสติ | รัชกาลแรก | |
ราดูที่ 9 มีห์เนีย | 1601–1602 | ราชสกุลดรากุเลสติ | พระโอรสในมีห์เนียที่ 2 ตูร์ซิตุล; รัชกาลแรก | |
ซิมอน โมวิลา | 1602 | ราชสกุลโมวิเลสติ | รัชกาลที่ 2 | |
ราดูที่ 10 เซอร์บาน | 1602–1610 | พระภาคิไนยในเนโก บาซารับที่ 5, รัชกาลแรก | ||
Transylvanian occupation: direct rule of กาเบรียล บาโธรี (1611) | ||||
ราดูที่ 9 มีห์เนีย | 1611 | ราชสกุลดรากุเลสติ | รัชกาลที่ 2 | |
ราดูที่ 10 เซอร์บาน | 1611 | รัชกาลที่ 2 | ||
ราดูที่ 9 มีห์เนีย | 1611–1616 | ราชสกุลดรากุเลสติ | รัชกาลที่ 3 | |
กาเบรียล โมวิลา | 1616 | ราชสกุลโมวิเลสติ | พระโอรสในไซมอน โมวิลา; รัชกาลแรก |
หลายราชวงศ์ แก้ไข
พระนาม | พระรูป | รัชสมัย | ราชวงศ์/ตระกูล | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|
อเล็กซานดรูที่ 4 อิลิอัส | 1616–1618 | รัชกาลแรก | ||
กาเบรียลที่ 2 โมวิลา | 1618–1620 | ราชสกุลโมวิเลสติ | รัชกาลที่ 2 | |
ราดูที่ 9 มีห์เนีย | 1620–1623 | ราชสกุลดรากุเลสติ | รัชกาลที่ 4 | |
อเล็กซานดรูที่ 5 โกโกนุลl (Alexander the Child-Prince) |
1623–1627 | ราชสกุลดรากุเลสติ | พระโอรส | |
อเล็กซานดรูที่ 4 อิลิอัส | 1627–1629 | ราชสกุลโมวิเลสติ | รัชกาลที่ 2 | |
เลออน ทอมซา | 1629–1632 | |||
ราดูที่ 11 อิลิอัส | 1632 | |||
มาเต บาซารับ | 1632–1654 | ราชวงศ์บรันโคนิเวสติ | ||
คอนสแตนตินที่ 1 เซอร์บัน | 1654–1658 | พระโอรสนอกกฎหมายในเจ้าชายราดู เซอร์บาน | ||
มีห์เนียที่ 3 | 1658–1659 | |||
จอร์จที่ 1 จิกา | 1659–1660 | ตระกูลจิกา | ||
กริกอร์ที่ 1 จิกา | 1660–1664 | ตระกูลจิกา | รัชกาลแรก | |
ราดูที่ 12 เลออน | 1664–1669 | |||
อันโตนี โวดา ดีน โปเปสติ | 1669–1672 | |||
กริกอร์ที่ 1 จิกา | 1672–1673 | ตระกูลจิกา | รัชกาลที่ 2 | |
จอร์จที่ 2 ดูกัส | 1673–1678 | |||
เซอร์บาน กันตากูซิโน | 1678–1688 | ตระกูลกันตากูแซน | ||
คอนสแตนตินที่ 2 บรันโกเวอานู | 1688–1714 | ราชวงศ์บรันโคนิเวสติ | ||
สเตฟานที่ 2 กันตากูซิโน | 1714–1715 | ตระกูลกันตากูแซน | ||
ภายใต้ พานาริโอต (1715–1821) | ||||
นิโกเล มาโวรโคดัต | 1715–1716 | ตระกูลมาโวรคอร์ดาโต | รัชกาลแรก | |
- ภายใต้ราชวงศ์ฮับส์บูร์ก | 1716 | |||
ยอน มาโวรโคดัต | 1716–1719 | ตระกูลมาโวรคอร์ดาโต | ||
นิโกเล มาโวรโคดัต | 1719–1730 | ตระกูลมาโวรคอร์ดาโต | รัชกาลที่ 2 | |
คอนสแตนติน มาโวรคอร์ดาโต | 1730 | ตระกูลมาโวรคอร์ดาโต | รัชกาลแรก | |
ไมไฮ ราโกวิตา | 1730–1731 | ตระกูลราโกวิตา | รัชกาลแรก | |
คอนสแตนติน มาโวรคอร์ดาโต | 1731–1733 | ตระกูลมาโวรคอร์ดาโต | รัชกาลที่ 2 | |
กริกอร์ที่ 2 จิกา | 1733–1735 | ตระกูลจิกา | รัชกาลแรก | |
คอนสแตนติน มาโวรคอร์ดาโต | 1735–1741 | ตระกูลมาโวรคอร์ดาโต | รัชกาลที่ 3 | |
มีไฮ ราโกวิตา | 1741–1744 | ตระกูลราโกวิตา | รัชกาลที่ 2 | |
คอนสแตนติน มาโวรคอร์ดาโต | 1744–1748 | ตระกูลมาโวรคอร์ดาโต | รัชกาลที่ 4 | |
กริกอร์ที่ 2 จิกา | 1748–1752 | ตระกูลจิกา | รัชกาลที่ 2 | |
มาเต จิกา | 1752–1753 | ตระกูลจิกา | ||
คอนสแตนติน ราโกวิตา | 1753–1756 | รัชกาลแรก | ||
คอนสแตนติน มาโวรคอร์ดาโต | 1756–1758 | ตระกูลมาโวรคอร์ดาโต | รัชกาลที่ 5 | |
สการ์ลัต จิกา | 1758–1761 | ตระกูลจิกา | รัชกาลแรก | |
คอนสแตนติน มาโวรคอร์ดาโต | 1761–1763 | ตระกูลมาโวรคอร์ดาโต | รัชกาลที่ 6 | |
คอนสแตนติน ราโกวิตา | 1763–1764 | ตระกูลราโกวิตา | รัชกาลที่ 2 | |
สเตฟาน ราโกวิตา | 1764–1765 | ตระกูลราโกวิตา | ||
สการ์ลัต จิกา | 1765–1766 | ตระกูลจิกา | รัชกาลที่ 2 | |
อเล็กซานดรู จิกา | 1766–1768 | ตระกูลจิกา | ||
- ภายใต้จักรวรรดิรัสเซีย | 1768 | |||
กริกอร์ที่ 3 จิกา | 1768–1769 | ตระกูลจิกา | ||
- ภายใต้จักรวรรดิรัสเซีย | 1769–1770 | |||
เอมานูเอล เจียนิ รูเซต | 1770-1771 | ตระกูลโรเซตติ | บางได้รับสมัญญาว่า มาโนเล หรืแ มาโนลาเช | |
อเล็กซานเดอร์ ยิปซิลันติส | 1774–1782 | ตระกูลยิปซิลันติ | รัชกาลแรก | |
นิโกเล คาราเจีย | 1782–1783 | ตระกูลคาราเจีย | ||
ไมไฮ ซูตู | 1783–1786 | ตระกูลซูต์โซส | รัชกาลแรก | |
นิโกเล มาโวรเจนิ | 1786–1789 | ตระกูลมาโวรเจนิ | ||
- ภายใต้ราชวงศ์ฮับส์บูร์ก | 1789–1790 | ผู้นำกองทัพเจ้าชายโจเซียสแห่งแซ็กซ์-โคบูร์ก | ||
ไมไฮ ซูตู | 1791–1793 | ตระกูลซูต์โซส | รัชกาลที่ 2 | |
อเล็กซานดรู มอรูซี | 1793–1796 | ตระกูลมูรูซี | รัชกาลแรก | |
อเล็กซานเดอร์ ยิปซิลันติส | 1796–1797 | ตระกูลยิปซิลันติ | รัชกาลที่ 2 | |
คอนสแตนติน ฮังเกอร์ลี | 1797–1799 | ตระกูลฮังเกอร์ลิ | ||
อเล็กซานดรู มอรูซี | 1799–1801 | ตระกูลมูรูซี | รัชกาลที่ 2 | |
ไมไฮ ซูตู | 1801–1802 | ตระกูลซูต์โซส | รัชกาลที่ 3 | |
อเล็กซานดรู ซูตู | 1802 | ตระกูลซูต์โซส | ||
คอนสแตนติน ยิปซิลันติส | 1802-1806 | ตระกูลยิปซิลันติ | ||
- ภายใต้จักรวรรดิรัสเซีย | 1806–1812 | |||
ยอน จอร์จ คาราเจีย | 1812–1818 | ตระกูลคาราเจีย | ||
ไคมาคาม กริกอร์ บรันโกเวนู |
1818 | ได้รับการสนับสนุนโดยวอร์นิก บาร์บู วากาเรสกู, วิสิเทียร์ กริกอร์ จิกา และ ลาโกฟาต ซามูร์กัส | ||
อเล็กซานดรู ซูตู | 1818–1821 | ตระกูลซูต์โซส | ||
ไคมาคาม กริกอร์ บรันโกเวอานู |
1821 | |||
ทิวดอร์ วลาดิมิเรสกู | 1821 | ผู้นำกบฏต่อต้านพานาริโอต | ||
สการ์ลัต กาลิมาจี | 1821 | ตระกูลกาลิมาจี | ||
กริกอรีที่ 4 จิกา | 1822–1828 | ตระกูลจิกา | ||
- ภายใต้จักรวรรดิรัสเซีย | 1828–1834 | ผู้นำกองทัพ: ฟีโอดอร์ ปาห๋เลน, พียอตร์ เซลตูกินและพาเวล กิเซเลฟฟ์ | ||
Organic Statute government (1832–1856) | ||||
อเล็กซานดรูที่ 2 จิกา | 1834–1842 | ตระกูลจิกา | ||
เกรกอรี บิเบสกู | 1842–1848 | ตระกูลบิเบสกู | ||
รัฐบาลชั่วคราว | 1848 | มุขนายก เนโอฟิตที่ 2, ได้รับการสนับสนุนโดยคริสเตียน เทลล์, เอียน เฮเลียด ราดูเลสกู, สเตฟาน โกเลสกู, จอร์จ แมกเอรู, จอร์จ สกูร์ตี | ||
โลโตเตเนนตา โดมเนอัสกา (ผู้สำเร็จราชการทั้ง 3) |
1848 | คริสเตียน เทลล์, เอียน เฮเลียด ราดูเลสกู, นิโกเล โกเลสกู | ||
จักวรรดิออตโตมันกับจักรวรรดิรัสเซียปกครองร่วมกัน | 1848–1851 | ผู้นำกองทัพ: โอมัร ปาชากับอเล็กซานเดอร์ ฟอน ลือเดอร์ | ||
ไคมาคาม คอนสแตนติน คันตากูซิโน |
1848 | ตระกูลกันตากูแซน | ||
บาร์บู สตริเบย์ | 1848–1853 | ตระกูลสตรีรเบย์ | รัชกาลแรก | |
ภายใต้จักรวรรดิรัสเซีย | 1853–1854 | |||
ภายต้จักรวรรดิออตโตมัน | 1854 | |||
ภายใต้จักรวรรดิออสเตรีย | 1854–1856 | ผู้นำกองทัพ: โยฮัน โคโรนินี-ครอนเบิร์ก | ||
บาร์บู สตริเบย์ | 1854–1856 | ตระกูลสตรีรเบย์ | รัชกาลที่ 2 | |
รัฐอารักขาสถาปนาตามสนธิสัญญาปารีส (1856–1859) | ||||
ไคมาคาม อเล็กซานดรูที่ 2 จิกา |
1856–1858 | ตระกูลจิกา | ||
ไคมาคามทั้งสาม | 1858–1859 | เอียน มานู, เอมาโนอิล บาเลอานู, เอียน อา ฟิลิปิเด | ||
อเล็กซานเดอร์ จอห์น คูซา | 1859–1862 | ราชวงศ์คูซา | ยังคงปกครองมอลดาเวียในสหภาพส่วนตน | |
สหราชรัฐวอลเลเกียและมอลดาเวีย ตั้งแต่ 1862. | ||||
อเล็กซานเดอร์ จอห์น คูซา | 1862–1866 | ราชวงศ์คูซา | ยังคงปกครองมอลดาเวียในสหภาพส่วนตน | |
คาโรลที่ 1 | 1866–1881 | ราชวงศ์โฮเฮนโซเลิร์น แซกมาริงเงิน | A รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ประกาศใช้ในค.ศ. 1866 ให้ประเทศมีชื่อทางการใหม่ว่า โรมาเนีย, และในวันที่ 14 มีนาคม (O.S.) (26 มีนาคม)ค.ศ. 1881, จึงเป็นราชอาณาจักรโรมาเนีย | |
ประมุขแห่งรัฐถัดจากนี้ ให้ดูเพิ่มที่ รายพระนามพระมหากษัตริย์โรมาเนีย. |