รถไฟฮอโลคอสต์เป็นขบวนรถไฟขนส่งที่ถูกดำเนินโดย Deutsche Reichsbahn (การรถไฟแห่งชาติเยอรมัน) ระบบขบวนรถไฟแห่งชาติภายใต้การควบคุมกำกับดูแลอย่างเข้มงวดของนาซีเยอรมันและประเทศพันธมิตร (ฝ่ายอักษะ) เพื่อความมุ่งหมายในการขับไล่เนรเทศชาวยิว เช่นเดียวกับคนอื่น ๆ ที่ตกเป็นเหยื่อของฮอโลคอสต์ ไปยังค่ายกักกัน ค่ายแรงงานบังคับ และค่ายมรณะของนาซีเยอรมัน[2][3]

รถไฟฮอโลคอสต์
Umschlagplatz
ตำรวจโปแลนด์ได้ทำการบรรจุผู้คนเพื่อทำการขนส่งที่ Umschlagplatz ของ วอร์ซอเกตโต ปี ค.ศ. 1942 ภาพเหล่านี้ได้ถูกเก็บรักษาไว้เป็นอนุสรณ์สถานแห่งชาติโปแลนด์
Operation
Periodค.ศ. 1941 – 1944
Locationนาซีเยอรมนี, เขตยึดครองโปแลนด์; เบลเยียม, บัลแกเรีย, รัฐบอลติก, เบสซาเรเบีย, ฝรั่งเศส, กรีซ, ฮังการี, อิตาลี, เนเธอร์แลนด์, โรมาเนีย
Prisoner victims
Total4,000,000 คน (ส่วนใหญ่เป็นชาวยิว)[1]
Destinationขนส่งไปยังเกตโต, ค่ายกักกันนาซี, ค่ายแรงงานบังคับ และ ค่ายมรณะ

นักประวัติศาสตร์สมัยใหม่ได้กล่าวว่า ถ้าหากไม่มีการขนส่งผู้คนจำนวนมากโดยทางรถไฟนั้น สิ่งที่เรียกว่า "มาตราการสุดท้าย" คือการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์อย่างเป็นระบบก็จะเป็นสิ่งที่แทบจะเป็นไปไม่ได้เลย การกำจัดผู้คนที่เป็นถูกกำหนดใน "มาตราการสุดท้าย" ขึ้นอยู่กับสองปัจจัยคือ ความจุปริมาณของค่ายมรณะเพื่อที่จะรมแก๊สเหยื่อ และ "กระบวนจัดการ" กับศพของพวกเขาอย่างที่พอจะรวดเร็วได้ เช่นเดียวกับความจุปริมาณของรถไฟในการขนส่งเหยื่อจากเกตโตในทวีปยุโรปภายใต้การยึดครองของนาซีและยิวเกตโตในโปแลนด์ภายใต้การยึดครองเยอรมันเพื่อที่จะได้คัดเลือกให้ไปยังสถานที่กำจัดให้สิ้น จำนวนตัวเลขที่ถูกต้องในปัจจุบันบนส่วนหนึ่งของ "มาตราการสุดท้าย" ยังคงขึ้นอยู่กับบันทึกประวัติการขนส่งของการรถไฟเยอรมัน[4][5]

แผนที่สามัญของเส้นทางการเนรเทศและค่ายมรณะต่าง ๆ

อ้างอิง

แก้
  1. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Enghelberg
  2. Prof. Ronald J. Berger, University of Wisconsin–Whitewater (2002). Fathoming the Holocaust: A Social Problems Approach. Transaction Publishers. pp. 57–58. ISBN 0202366111. Bureaucrats in the Reichsbahn performed important functions that facilitated the movement of trains. They constructed and published timetables, collected fares, and allocated cars and locomotives. In sending Jews to their death, they did not deviate much from the routine procedures they used to process ordinary train traffic.
  3. Simone Gigliotti, Victoria University, Australia (2009). The Train Journey: Transit, Captivity, and Witnessing in the Holocaust. Berghahn Books. pp. 36, 55. ISBN 184545927X.{{cite book}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  4. HOLOCAUST FAQ: Operation Reinhard: A Layman's Guide (2/2).
  5. Tomasz Wiścicki (16 April 2013), Train station to hell. Treblinka death camp retold by Franciszek Ząbecki [Stacja tuż obok piekła. Treblinka w relacji Franciszka Ząbeckiego], Muzeum Historii Polski [Museum of Polish History], คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ October 6, 2013, สืบค้นเมื่อ 2 February 2016 – โดยทาง Internet Archive, Wspomnienia dawne i nowe by Franciszek Ząbecki (en), Pax publishig, Warsaw 1977.; also in Clancy Young (2013), Treblinka Death Camp Day-by-Day. Tables with record of daily deportations, Holocaust Education & Archive Research Team, คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ May 22, 2013, สืบค้นเมื่อ 2 February 2016 – โดยทาง Internet Archive, Timeline of Treblinka (en).