ฟอร์มูลาวัน
ลิงก์ข้ามภาษาในบทความนี้ มีไว้ให้ผู้อ่านและผู้ร่วมแก้ไขบทความศึกษาเพิ่มเติมโดยสะดวก เนื่องจากวิกิพีเดียภาษาไทยยังไม่มีบทความดังกล่าว กระนั้น ควรรีบสร้างเป็นบทความโดยเร็วที่สุด |
รถสูตรหนึ่ง หรือ ฟอร์มูลาวัน (อังกฤษ: Formula One) หรือ เอฟวัน (อังกฤษ: F1) หรือมีชื่ออย่างเป็นทางการว่า FIA Formula One World Championship[2] เป็นการแข่งขันรถระดับสูงสุดจากความช่วยเหลือของสมาพันธ์รถยนต์นานาชาติ (Fédération Internationale de l'Automobile (FIA) ) คำว่า "สูตร" หมายถึงกฎกติกาที่ผู้เข้าแข่งขันและรถทุกคันต้องปฏิบัติตาม[3] ฤดูกาลแข่งขันของเอฟวัน ประกอบด้วยการแข่งขันหลายครั้งหรือที่เรียกว่า กรังด์ปรีซ์ (Grands Prix) ตามวัตถุประสงค์การสร้างของสนามแข่งและไปจนถึงขนาดที่เล็กลง ถนนสาธารณะและถนนปิดในเมือง ผลของการแข่งขันจะรวมและพิจารณาให้กับแชมป์ในส่วนของผู้ขับและผู้ผลิต ในส่วนของผู้ขับรถ ทีมผู้ผลิต เจ้าหน้าที่ทางรถ ผู้จัดเตรียม และสนามต้องมีผู้ที่ถือใบอนุญาตซูเปอร์ไลเซนซ์[4] ใบอนุญาตการแข่งรถสูงสุดจาก FIA[5]
![]() | |
ประเภท | Single seater |
---|---|
ประเทศ | International |
การเริ่มฤดูกาล | 1950[1] |
ผู้ขับ | 20 |
ผู้สร้าง | 10 |
ผู้ผลิตรถจักร | แฟร์รารี · Mercedes · Renault · Honda |
ผู้ผลิตยางรถ | Pirelli |
ผู้ขับแชมป์ | ![]() (Mercedes AMG Petronas) |
ผู้สร้างแชมป์ | ![]() |
เว็บไซต์ทางการ | www |
![]() |
การแข่งขันรถสูตรหนึ่ง แข่งด้วยความเร็วสูงถึง 360 กม/ชม. กับเครื่องยนต์สูงสุด 18,000 รอบ/นาที ประสิทธิภาพของรถขึ้นอยู่กับเครื่องยนต์ อากาศพลศาสตร์ การเบรกและยาง
ยุโรปถือเป็นจุดศูนย์กลางการแข่งของรถสูตรหนึ่ง และมีการแข่งขันเกิดขึ้น อย่างไรก็ตามก็ได้ขยับขยายไปในส่วนต่าง ๆ ของโลกในปีหลัง ๆ การแข่งขันในยุโรปและอเมริกาก็ถูกลดลงไป การแข่งขัน 17 ครั้งในปี 2009 มี 8 ครั้งที่จัดขึ้นนอกยุโรป
การแข่งขันรถสูตรหนึ่งยังถือเป็นรายการโทรทัศน์ที่มีผู้ชมมหาศาล มีผู้ชมทั่วโลกกว่า 600 ล้านคนต่อฤดูกาล[6] และด้วยความที่เป็นกีฬาที่แพงที่สุดในโลก[7] จึงมีผลต่อด้านเศรษฐกิจอย่างมาก และการเงินและการต่อสู้ด้านการเมือง และยังปรากฏถึงด้านการค้าที่นำไปสู่การหาผู้สนับสนุนอย่างมาก นำไปสู่การหาค่าใช้จ่ายของผู้ผลิต อย่างไรก็ตามนับตั้งแต่ปี 2000 ค่าใช้จ่ายที่มีแนวโน้มที่สูงขึ้น หลายทีม รวมถึงทีมผู้สร้างรถและทีมที่มีผู้สนับสนุนน้อย ก็ล้มหายไปหรือถูกขายให้บริษัทอื่น สิ่งนี้เองทำให้มีตัวจำกัดผู้เข้าร่วมแข่งขันด้วย
สนามรถสูตรหนึ่งแก้ไข
- Albert Park Circuit, เมลเบิร์น
- Bahrain International Circuit, Sakhir
- Hanoi Street Circuit, ฮานอย
- Circuit Zandvoort, ซันต์โฟร์ต
- Circuit de Barcelona-Catalunya, บาร์เซโลนา
- Circuit de Monaco, Monte Carlo
- Baku City Circuit, บากู
- Circuit Gilles Villeneuve, มอนทรีออล
- Circuit Paul Ricard, Le Castellet
- Red Bull Ring, Spielberg
- Silverstone Circuit, Silverstone
- Hungaroring, Mogyoród
- Circuit de Spa-Francorchamps, Stavelot
- Autodromo Nazionale di Monza, Monza
- Marina Bay Street Circuit, สิงคโปร์
- Sochi Autodrom, โซชี
- Suzuka International Racing Course, Suzuka
- Circuit of the Americas, ออสติน
- Autódromo Hermanos Rodríguez, เม็กซิโกซิตี
- Autódromo José Carlos Pace, เซาเปาลู
- Yas Marina Circuit, อาบูดาบี
- Shanghai International Circuit, เซี่ยงไฮ้
อ้างอิงแก้ไข
- ↑ The formula was defined during 1946; the first Formula One race was during 1947; the first World Championship season was 1950.
- ↑ "2009 FIA Formula One World Championship". Fia.com. สืบค้นเมื่อ 2009-06-19.
- ↑ "Discovering What Makes Formula One, Formula One — For Dummies". Dummies.com. สืบค้นเมื่อ 2009-09-14.
- ↑ (Showing%20Alterations) %2024-03-2009.pdf [ลิงก์เสีย]
- ↑ "APPENDIX L TO THE INTERNATIONAL SPORTING CODE" (PDF). FIA. 28 March 2007. สืบค้นเมื่อ 2009-08-30.
- ↑ "F1's TV audience reached 600m in 2008". uk.eurosport.yahoo.com. สืบค้นเมื่อ 2009-06-29.
- ↑ "F1 owners brace for impact of credit crunch on expensive sport — Racing — ESPN". Sports.espn.go.com. 2008-09-26. สืบค้นเมื่อ 2009-06-25.