ยุทธการที่เคอนิชส์แบร์ค
ยุทธการที่เคอนิชส์แบร์ค (อังกฤษ: Battle of Königsberg) หรือที่รู้จักในชื่อ การรุกเคอนิชส์แบร์ค (อังกฤษ: Königsberg Offensive) เป็นปฏิบัติการสุดท้ายในการรุกปรัสเซียตะวันออกในเวลา 4 วัน โดย แนวรบบอลติกที่ 1 และ แนวรบเบียโลรัสเซียที่ 3 ของกองทัพโซเวียตสามารถยึดเคอนิชส์แบร์คได้
ยุทธการที่เคอนิชส์แบร์ค | |||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|
ส่วนหนึ่งของ แนวรบด้านตะวันออก, การรุกปรัสเซียตะวันออก ใน สงครามโลกครั้งที่สอง | |||||||
| |||||||
คู่สงคราม | |||||||
ไรช์เยอรมัน | สหภาพโซเวียต | ||||||
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ | |||||||
ออทโท ลาช (เชลย) |
อะเลคซันดร์ วาซีเลฟสกี คอนสตันติน โรคอสซอฟสกี | ||||||
กำลัง | |||||||
60,000[1]–130,000 นาย ปืนใหญ่และปืนครก 4,000 ชุด รถถัง 108 คัน อากาศยาน 170 ลำ[2] |
ทหาร 137,000 นาย ปืนใหญ่และปืนครก 5,200 ชุด รถถัง 528 คัน อากาศยาน 2,174 ลำ[2] | ||||||
ความสูญเสีย | |||||||
50,000 นายบาดเจ็บ/ล้มตาย 80,000 นายตกเป็นเชลย | 60,000 นายบาดเจ็บ/ล้มตาย[2] |
อ้างอิง
แก้- ↑ Duffy, Christopher (1991). Red storm on the Reich: the Soviet march on Germany, 1945. Routledge. p. 207. ISBN 0-415-03589-9.
- ↑ 2.0 2.1 2.2 Alexander Katerusha. (10 May 2012). "Battle of Königsberg in numbers: Won by not quantity, but quality". Комсомольская правда. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-01-20. สืบค้นเมื่อ 2013-01-07.
- บรรณานุกรม
หนังสือเพิ่มเติม
แก้- Galitzky, K.N. (commander of 11th Guards Army), Fighting for Eastern Prussia, Moscow, 1970.
- Shefov, Nikolai. Russian fights, Lib. Military History, M. 2002 (Russian: Bitvy Rossii / Nikolai Shefov. Moskva : AST, 2002. SSEES R.XIII.1 SHE (see: SSEES Library Recent Acquisitions: January 2007)
แหล่งข้อมูลอื่น
แก้วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ ยุทธการที่เคอนิชส์แบร์ค