ภาษาโลร์

(เปลี่ยนทางจาก ภาษาลูรี)

โลร์ (โลร์ถิ่นเหนือ: لٛۏری, อักษรโรมัน: Łôrī, โลร์ถิ่นใต้: لُرِی, อักษรโรมัน: Lorī) เป็นภาษากลุ่มอิหร่านทางตะวันตกเฉียงใต้ที่พูดโดยชาวโลร์ซึ่งเป็นชนกลุ่มอิหร่านในเอเชียตะวันตก ภาษาถิ่นของภาษาโลร์มีที่มาจากภาษาเปอร์เซียกลาง โดยประกอบด้วยภาษาโลร์ถิ่นกลาง, ภาษาโลร์ถิ่นแบฆทียอรี,[3][5] และภาษาโลร์ถิ่นใต้[3][5] ผู้พูดภาษานี้เป็นภาษาหลักคือชาวแบฆทียอรีและชาวโลร์ใต้[6] ในประเทศอิหร่าน

ภาษาโลร์
ถิ่นเหนือ: زۊن لٛۏری
ถิ่นใต้: لُرِیَ بُزُرْگ
ออกเสียง[loriː]
ประเทศที่มีการพูดประเทศอิหร่าน; บางหมู่บ้านในภาคตะวันออกของประเทศอิรัก[1][2]
ภูมิภาคซากรอสใต้
ชาติพันธุ์ชาวโลร์
จำนวนผู้พูดunknown (undated figure of 4–5 ล้านคน)[3][4]
ตระกูลภาษา
ภาษาถิ่น
โลร์กลาง (มินจัล)
แบฆทียอรี
โลร์ใต้
คุมซารี
รหัสภาษา
ISO 639-3มีหลากหลาย:
lrc – โลร์เหนือ
bqi – แบฆทียอรี
luz – โลร์ใต้

ประวัติ

แก้

ภาษาโลร์เป็นภาษาที่ยังมีผู้ใช้อยู่ที่มีความใกล้ชิดกับภาษาเปอร์เซียเก่าและภาษาเปอร์เซียกลางมากที่สุด[7] ภาษานี้สืบทอดมาจากภาษาเปอร์เซียกลาง (ปาร์ซิก)[3][8] โดยอยู่ใน กลุ่มเปอร์ซิด หรือ กลุ่มซากรอสตอนใต้ และมีศัพท์คล้ายกับภาษาเปอร์เซียสมัยใหม่ โดยมีความแตกต่างหลักอยู่ที่ระบบเสียง[9]

ดูเพิ่ม

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. Northern Luri ที่ Ethnologue (18th ed., 2015) (ต้องสมัครสมาชิก)
  2. Dougherty, Beth K.; Ghareeb, Edmund A. (2013). Historical Dictionary of Iraq. Historical Dictionaries of Asia, Oceania, and the Middle East (2nd ed.). Lanham: Scarecrow Press. p. 209. ISBN 978-0-8108-6845-8.
  3. 3.0 3.1 3.2 3.3 Anonby, Erik John (July 2003). "Update on Luri: How many languages?" (PDF). Journal of the Royal Asiatic Society. Series 3. 13 (2): 171–197. doi:10.1017/S1356186303003067. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2014-09-11. สืบค้นเมื่อ 2021-03-14.
  4. Anonby, Erik J. (20 December 2012). "LORI LANGUAGE ii. Sociolinguistic Status". Encyclopædia Iranica. ISSN 2330-4804. สืบค้นเมื่อ 2019-04-14. In 2003, the Lori-speaking population in Iran was estimated at 4.2 million speakers, or about 6 percent of the national figure (Anonby, 2003b, p. 173). Given the nationwide growth in population since then, the number of Lori speakers in 2012 is likely closer to 5 million.
  5. 5.0 5.1 G. R. Fazel, ‘Lur’, in Muslim Peoples: A World Ethnographic Survey, ed. R. V. Weekes (Westport, 1984), pp. 446–447
  6. Limbert, John (Spring 1968). "The Origin and Appearance of the Kurds in Pre-Islamic Iran". Iranian Studies. 1 (2): 41–51. doi:10.1080/00210866808701350. JSTOR 4309997.
  7. C.S. Coon, "Iran:Demography and Ethnography" in Encyclopaedia of Islam, Volume IV, E. J. Brill, pp 10,8.
  8. Stilo, Donald (15 December 2007). "Isfahan xxi. PROVINCIAL DIALECTS". Encyclopædia Iranica. Vol. XIV, fasc. 1. pp. 93–112. ISSN 2330-4804. สืบค้นเมื่อ 2019-04-14. While the modern SWI languages, for instance, Persian, Lori-Baḵtiāri and others, are derived directly from Old Persian through Middle Persian/Pahlavi
  9. Digard, J.-P.; Windfuhr, G. L.; Ittig, A. (15 December 1988). "BAḴTĪĀRĪ TRIBE ii. The Baḵtīārī Dialect". Encyclopædia Iranica. Vol. III, fasc. 5. pp. 553–560. ISSN 2330-4804. สืบค้นเมื่อ 2019-04-14.

อ่านเพิ่ม

แก้
  • Freidl, Erika. 2015. Warm Hearts and Sharp Tongues: Life in 555 Proverbs from the Zagros Mountains of Iran. Vienna: New Academic Press. ISBN 978-3-7003-1925-2
  • F. Vahman and G. Asatrian, Poetry of the Baxtiārīs: Love Poems, Wedding Songs, Lullabies, Laments, Copenhagen, 1995.[1]

แหลงข้อมูลอื่น

แก้