ภาษาปังกาซีนัน (ฟิลิปีโนและอังกฤษ: Pangasinan) เป็นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียน สาขามาเลโย-พอลินีเชียน มีผู้พูดราว 1.5 ล้านคนในจังหวัดปังกาซีนัน ทางภาคตะวันตกของเกาะลูซอน คำว่าปังกาซีนันแปลว่าแผ่นดินเกลือหรือแหล่งบรรจุเกลือ เรียงประโยคแบบกริยา-ประธาน-กรรม

ภาษาปังกาซีนัน
Salitan Pangasinan
ออกเสียง[paŋɡasiˈnan][1]: 36 
ประเทศที่มีการพูดประเทศฟิลิปปินส์
ภูมิภาคเขตอีโลโคส (จังหวัดปังกาซีนันทั้งหมด, จังหวัดลาอูนยอนตะวันตกเฉียงใต้)
เขตกิตนางลูโซน (จังหวัดตาร์ลักเหนือ, จังหวัดนูเวบาเอซีฮาตะวันตกเฉียงเหนือ, จังหวัดซัมบาเลสเหนือ)
คอร์ดิลเยรา (จังหวัดเบงเก็ตตะวันตกเฉียงใต้)
เขตลัมบักนางคากายัน (จังหวัดนูเอวาวิซคายาตะวันตกเฉียงใต้)
ชาติพันธุ์ชาวปังกาซีนัน
จำนวนผู้พูดไม่ทราบ (1.2 ล้านคน อ้างถึง1990 census)[2]
ภาษาแม่ที่มีผู้พูดมากเป็นอันดับ 8 ของประเทศฟิลิปปินส์[3]
ตระกูลภาษา
ระบบการเขียนอักษรละติน (ชุดตัวอักษรปังกาซีนัน)
อดีตเขียนด้วยอักษร: Kurítan
สถานภาพทางการ
ภาษาทางการภาษาประจำภูมิภาคในประเทศฟิลิปปินส์
ผู้วางระเบียบKomisyon sa Wikang Filipino
รหัสภาษา
ISO 639-2pag
ISO 639-3pag
Linguasphere31-CGA-f
พื้นที่ที่มีผู้พูดภาษาปังกาซีนัน
บทความนี้มีสัญลักษณ์สัทอักษรสากล หากระบบของคุณไม่รองรับการแสดงผลที่ถูกต้อง คุณอาจเห็นปรัศนี กล่อง หรือสัญลักษณ์อย่างอื่นแทนที่อักขระยูนิโคด

คำสรรพนาม

แก้
  การกสมบูรณ์ (อิสระ) การกสมบูรณ์ (ภายใน) การกเกี่ยวพัน การกกรรมตรง
บุรุษที่ 1 เอกพจน์ siák ak -k(o) ed siak
บุรุษที่ 1 ทวิพจน์ sikatá ita, ta -ta ed sikata
บุรุษที่ 2 เอกพจน์ siká ka -m(o) ed sika
บุรุษที่ 3 เอกพจน์ sikató - , -a to ed sikato
บุรุษที่ 1 พหูพจน์ รวมผู้ฟัง sikatayó itayo, tayo -tayo ed sikatayo
บุรุษที่ 1 พหูพจน์ ไม่รวมผู้ฟัง sikamí kamí mi ed sikami
บุรุษที่ 2 พหูพจน์ sikayó kayó yo ed sikayo
บุรุษที่ 3 พหูพจน์ sikara ira, ra da ed sikara

ตัวเลข

แก้
ตัวเลข ภาษาตากาล็อก ภาษาปังกาซีนัน
1 isa sakey, isa
2 dalawa duara, dua
3 tatlo talora, talo
4 apat apatira, apat
5 lima limara, lima
6 anim anemira, anem
7 pito pitora, pito
8 walo walora, walo
9 siyam siamira, siam
10 sampu samplura, samplu

อ้างอิง

แก้
  1. Benton, Richard A. (1971). Pangasinan Reference Grammar. Honolulu: University of Hawaii Press. ISBN 978-0-8248-7910-5.
  2. ภาษาปังกาซีนัน ที่ Ethnologue (18th ed., 2015) (ต้องสมัครสมาชิก)
  3. Philippine Census, 2000. Table 11. Household Population by Ethnicity, Sex and Region: 2000

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้