ภาวะขาดการนอนหลับ

ภาวะขาดการนอนหลับ (อังกฤษ: sleep deprivation) หรือ การนอนหลับไม่เต็มอิ่ม (อังกฤษ: insufficient sleep) เป็นภาวะที่นอนหลับพักผ่อนไม่เพียงพอ ไม่ว่าเรื้อรัง (chronic) หรือเฉียบพลัน (acute)

ภาวะขาดการนอนหลับ
สาขาวิชานิทราเวชศาสตร์
อาการความล้า, อาการบวมรอบตา, ความจำไม่ดี, อารมณ์หงุดหงิด, น้ำหนักขึ้น
ภาวะแทรกซ้อนอุบัติเหตุทางรถยนต์และที่ทำงาน, น้ำหนักขึ้น, โรคหัวใจและหลอดเลือด
สาเหตุการนอนไม่หลับ, ภาวะหยุดหายใจขณะหลับ, สารกระตุ้น (คาเฟอีน, แอมเฟตามีน), การรบกวนการนอนโดยสมัครใจ (โรงเรียน, งาน), ความผิดปกติทางอารมณ์
การรักษาการบำบัดทางความคิดและพฤติกรรม, กาเฟอีน (เพื่อกระตุ้นความตื่นตัว), ยานอนหลับ

การหลับไม่อิ่มเรื้อรัง ทำให้เกิดความล้า (fatigue), ความง่วงซึมในเวลากลางวัน (daytime sleepiness), ความซุ่มซ่าม (clumsiness) ตลอดจนน้ำหนักลด และน้ำหนักเพิ่ม[1] นอกจากนี้ ยังส่งผลกระทบอย่างร้ายแรงต่อระบบสมองและการรับรู้จดจำ[2] และจากการทดลองกับสัตว์ในห้องปฏิบัติการ พบว่า สัตว์ทดลองที่หลับไม่อิ่มติดต่อกันเป็นเวลานาน ถึงแก่ความตายในที่สุด[3]

ไม่มีมนุษย์คนใดสามารถงดเว้นการนอนหลับติดต่อกันเป็นห้วงเวลายาวนานได้ เว้นแต่ป่วยเป็นภาวะนอนไม่หลับอย่างร้ายแรงในวงศ์ตระกูล (fatal familial insomnia) นอกจากนี้ มนุษย์ก็ยังไม่สามารถเลี่ยงความง่วงได้ แม้เป็นความง่วงช่วงสั้น ๆ ก็ตาม[4]

อ้างอิง

แก้
  1. Taheri S, Lin L, Austin D, Young T, Mignot E (ธันวาคม 2004). "Short sleep duration is associated with reduced leptin, elevated ghrelin, and increased body mass index". PLoS Med. 1 (3): e62. doi:10.1371/journal.pmed.0010062. PMC 535701. PMID 15602591. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 เมษายน 2006. สืบค้นเมื่อ 27 กันยายน 2021.
  2. Paula Alhola; Päivi Polo-Kantola (ตุลาคม 2007). "Sleep deprivation: Impact on cognitive performance" (Review; Full text). Neuropsychiatr Dis Treat. Dove Medical Press. 3 (5): 553–567. PMC 2656292. สืบค้นเมื่อ 16 พฤศจิกายน 2010. Although both conditions [total and partial SD] induce several negative effects including impairments in cognitive performance, the underlying mechanisms seem to be somewhat different.
  3. Rechtschaffen A, Bergmann B (กรกฎาคม–สิงหาคม 1995). "Sleep deprivation in the rat by the disk-over-water method". Behavioural Brain Research. 69 (1–2): 55–63. doi:10.1016/0166-4328(95)00020-T. The Function of Sleep
  4. Kushida, Clete Anthony (2005). Sleep deprivation. Informa Health Care. pp. 1–2. ISBN 0-8247-5949-4.