ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วายฟาย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ย้อนกลับไปรุ่นที่ 9959226 โดย BotKung (พูดคุย) ด้วยสจห.
ป้ายระบุ: ย้อนด้วยมือ
บรรทัด 13:
| range =
}}
'''[[Google.com]]วไฟไวไฟ'''<ref>https://dict.longdo.com/search/%E0%B9%84%E0%B8%A7%E0%B9%84%E0%B8%9F ไวไฟ ส่วน อังกฤษ-ไทย: คลังศัพท์ไทย โดย สวทช.</ref> ({{lang-en|Wi-Fi หรือ WiFi}}, {{IPAc-en|ˈ|w|aɪ|f|aɪ}})<ref>{{Cite web |url=https://www.theatlantic.com/technology/archive/2014/06/why-fi-or-wiffy-how-americans-pronounce-techs-most-common-terms/373082/ |title='Why-Fi' or 'Wiffy'? How Americans Pronounce Common Tech Terms |last=Garber |first=Megan |date=2014-06-23 |website=[[The Atlantic]] |archive-url=https://web.archive.org/web/20180615190651/https://www.theatlantic.com/technology/archive/2014/06/why-fi-or-wiffy-how-americans-pronounce-techs-most-common-terms/373082/ |archive-date=2018-06-15 |url-status=live }}</ref>{{Efn|ถึงแม้ว่าโดยทั่วไปคำว่า Wi-Fi ย่อมาจาก “wireless fidelity” แต่คำนี้ไม่ได้มีความหมายเต็ม และ 'ถูกสร้างขึ้น' เพื่อให้พูดและจำง่ายกว่า IEEE802.11.<ref>{{cite web|url=https://www.newscientist.com/question/what-does-wi-fi-stand-for/|title= What does Wi-Fi stand for?}}</ref>}} เป็นกลุ่ม[[โพรโทคอลด้านการติดต่อสื่อสาร|โพรโทคอล]][[เครือข่ายไร้สาย]]ที่มีมาตรฐานของ [[IEEE 802.11]] ซึ่งมักใช้งานใน[[แลนไร้สาย|เครือข่ายอุปกรณ์ระยะใกล้]]และเข้าถึง[[อินเทอร์เน็ต]] ซึ่งอนุญาตให้แลกเปลี่ยนข้อมูลในอุปกรณ์ดิจิตอลด้วย[[คลื่นวิทยุ]]ได้ ไวไฟเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่มีผู้ใช้งานมากที่สุดในโลก โดยใช้งานใน[[small office/home office|เครือข่ายที่บ้านและสำนักงานขนาดเล็ก]]เพื่อเชื่อมคอมพิวเตอร์[[desktop computer|เดสก์ท็อป]]กับ[[แลปท็อป]], [[แท็บเล็ตคอมพิวเตอร์]], [[สมาร์ตโฟน]], [[สมาร์ตทีวี]], [[Printer (computing)|เครื่องปริ้น]] และ[[ลำโพงอัจฉริยะ]]เข้าด้วยกัน และเป็น[[เราเตอร์ไร้สาย]]เชื่อมเข้ากับอินเทอร์เน็ต และใน[[จุดเข้าถึงไร้สาย]]ในที่สาธารณะอย่างร้านกาแฟ, โรงแรม, ห้องสมุด และท่าอากาศยานเพื่อเข้าถึงอินเทอร์เน็ตในที่สาธารณะ
 
''Wi-Fi'' เป็นเครื่องหมายการค้าของ[[Wi-Fi Alliance]]ที่ไม่แสวงหากำไร ซึ่งนิยามว่า "ชุดผลิตภัณฑ์ใด ๆ ที่สามารถทำงานได้ตามมาตรฐานเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบไร้สาย (แลนไร้สาย) ซึ่งอยู่บนมาตรฐาน IEEE 802.11"<ref>{{cite web|url=http://www.webopedia.com/TERM/W/Wi_Fi.html|title=What is Wi-Fi (IEEE 802.11x)? A Webopedia Definition|last=Beal|first=Vangie|website=Webopedia|archive-url=https://web.archive.org/web/20120308123721/http://www.webopedia.com/term/w/wi_fi.html|archive-date=2012-03-08|url-status=live}}</ref><ref>{{Cite web|url=https://www.theguardian.com/technology/blog/2007/may/21/thedangersof|title=The Dangers of Wi-Fi Radiation (Updated) |first=Jack |last=Schofield |date=21 May 2007|via=www.theguardian.com}}</ref><ref>{{Cite web|url=https://www.wi-fi.org/certification|title=Certification |publisher=Wi-Fi Alliance |website=Wi-Fi.org }}</ref> {{As of|2017|post=,}} มีบริษัทใช้งาน Wi-Fi Alliance มากกว่า 800 แห่งทั่วโลก<ref name="alliance-history">{{Cite web |title=History &#124; Wi-Fi Alliance |url=https://www.wi-fi.org/who-we-are/history |access-date=2020-09-15 |website=Wi-Fi Alliance}}</ref> {{As of|2019|post=,}} ในแต่ละปี มีการส่งอุปกรณ์ที่มีไวไฟมากกว่า 3.05 พันล้านอันทั่วโลก<ref name="global-forecast">{{Cite web |date=2020-07-01 |title=Global Wi-Fi Enabled Devices Shipment Forecast, 2020 - 2024 |url=https://www.researchandmarkets.com/reports/5135535/global-wi-fi-enabled-devices-shipment-forecast |access-date=2020-11-23 |website=Research and Markets }}</ref>
บรรทัด 34:
ในเดือนเมษายน ค.ศ. 2009 14 บริษัทเทคโนโลยีตกลงที่จะจ่าย 250 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ให้กับ CSIRO สำหรับการละเมิดสิทธิบัตรของ CSIRO<ref>Moses, Asher (June 1, 2010). "CSIRO to reap 'lazy billion' from world's biggest tech companies". The Age (Melbourne). Retrieved 8 June 2010.</ref> สิ่งนี้ทำให้ Wi-Fi กลายเป็นสิ่งประดิษฐ์ ของออสเตรเลีย<ref>World changing Aussie inventions – Australian Geographic</ref> แม้ว่าจะเป็นเรื่องของการโต้เถียงกันอยู่<ref>How the Aussie government “invented WiFi” and sued its way to $430 million | Ars Technica</ref><ref>"Australia's Biggest Patent Troll Goes After AT&T, Verizon and T-Mobile". CBS News.</ref> ในปี ค.ศ. 2012 CSIRO ยังชนะคดีและจะได้รับเงินชดเชยเพิ่มเติม 220 ล้าน$ สำหรับการละเมิดสิทธิบัตร Wi-Fi กับบริษัทระดับโลกในประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งจะต้องจ่ายค่าลิขสิทธิ์แก่ CSIRO ที่คาดว่าจะมีมูลค่าเพิ่มอีก $ 1 พันล้านดอลลาร์<ref>Moses, Asher (June 1, 2010). "CSIRO to reap 'lazy billion' from world's biggest tech companies". The Age (Melbourne). Retrieved 8 June 2010.</ref><ref>Australian scientists cash in on Wi-Fi invention: SMH 1 April 2012</ref><ref>CSIRO wins legal battle over Wi-Fi patent: ABC 1 April 2012</ref>
 
== [[Google.com]]กษณะลักษณะการเชื่อมต่อของอุปกรณ์ ==
[[ไฟล์:Wi-Fi.gif|thumb|ภาพของอุปกรณ์ส่งข้อมูลแบบไร้สายไปยังอุปกรณ์อื่นทั้งที่เชื่อมต่อกับแลนไร้สายและเครือข่ายท้องถิ่นใช้สายในการพิมพ์เอกสาร]]
ไวไฟ ได้กำหนดลักษณะการเชื่อมต่อของอุปกรณ์ภายในเครือข่ายแลน ไว้ 2 ลักษณะคือโหมด [[Infrastructure as a service|Infrastructure]] และโหมด [[Ad-Hoc]] หรือ Peer-to-Peer<ref>[http://www.thaicert.nectec.or.th/paper/wireless/IEEE80211_1.php มาตรฐาน IEEE 802.11 WLAN] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20081015063417/http://www.thaicert.nectec.or.th/paper/wireless/IEEE80211_1.php |date=2008-10-15 }} (เว็บไซต์ศูนย์ประสานงานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์ ประเทศไทย)</ref>
บรรทัด 44:
เครือข่ายไวไฟ.ในโหมด Ad-Hoc หรือ Peer-to-Peer เป็นเครือข่ายที่ปิดคือไม่มีสถานีแม่ข่ายและไม่มีการเชื่อมต่อกับเครือข่ายอื่น บริเวณของเครือข่ายไวไฟในโหมด Ad-Hoc จะเรียกว่า Independent Basic Service Set (IBSS) ซึ่งสถานีผู้ใช้หนึ่งสามารถติดต่อสื่อสารข้อมูลกับสถานีผู้ใช้อื่น ๆ ในเขต IBSS เดียวกันได้โดยตรงโดยไม่ต้องผ่านสถานีแม่ข่าย แต่สถานีผู้ใช้จะไม่สามารถรับส่งข้อมูลกับเครือข่ายอื่น ๆ ได้
 
==[[Google.com]]ลไกกลไกรักษาความปลอดภัย ==
ไวไฟได้กำหนดให้มีทางเลือกสำหรับสร้างความปลอดภัยให้กับเครือข่ายแลนแบบไร้สาย ด้วยกลไกซึ่งมีชื่อเรียกว่า WEP (Wired Equivalent Privacy) ซึ่งออกแบบมาเพื่อเพิ่มความปลอดภัยกับเครือข่าย LAN แบบไร้สายให้ใกล้เคียงกับความปลอดภัยของเครือข่ายแบบที่ใช้สายนำสัญญาณ (IEEE 802.3 Ethernet) บทบาทของ WEP แบ่งเป็น 2 ส่วนหลัก ๆ คือ การเข้ารหัสข้อมูล (Encryption) และ การตรวจสอบผู้ใช้ (Authentication)
 
บรรทัด 75:
** 4. สถานีแม่ข่ายทำการถอดรหัสข้อความที่ตอบกลับมาโดยใช้รหัสลับของเครือข่าย หลังจากถอดรหัสแล้วหากข้อความที่ตอบกลับมาตรงกับข้อความคำถาม (challenge text) ที่ส่งไป สถานีแม่ข่ายจะส่งข้อความที่แสดงถึงการอนุญาตให้สถานีผู้ใช้นี้เข้าใช้เครือข่ายได้ แต่หากข้อความที่ตอบกลับมาไม่ตรงกับข้อความคำถาม สถานีแม่ข่ายจะโต้ตอบด้วยข้อความที่แสดงถึงการไม่อนุญาต
 
==[[Google.com]]อข้อดีและข้อจำกัดข้อดี==
Wi-Fi ช่วยให้การใช้งานของเครือข่ายท้องถิ่น (LANs) มีราคาถูกลง นอกจากนี้ยังมีบริเวณที่ไม่สามารถวางสายเคเบิลได้ เช่น พื้นที่กลางแจ้งและอาคารประวัติศาสตร์ เราจะสามารถให้บริการ LAN แบบไร้สายได้
 
บรรทัด 118:
{{Notelist|colwidth=30em}}
 
== อ้างอิง ==
== [[Google.com|Google]]างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/วายฟาย"