ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วายฟาย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Waniosa Amedestir (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
Waniosa Amedestir (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 3:
{{ปรับภาษา}}
{{ต้องการสรุป}}
{{Infobox protocol
| image = Wi-fi alliance logo.png
| image-upright = 0.5
| developer =
| introdate = {{Start date and age|1997|9|21|df=yes}}
| industry =
| connector =
| hardware = [[คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล]], [[Video game console|คอนโซลเกม]], [[Smart device]], [[โทรทัศน์]], [[Printer (computing)|เครื่องปริ้น]], [[สมาร์ตโฟน]], [[กล้องวงจรปิด]]
| range =
}}
'''ไวไฟ'''<ref>https://dict.longdo.com/search/%E0%B9%84%E0%B8%A7%E0%B9%84%E0%B8%9F ไวไฟ ส่วน อังกฤษ-ไทย: คลังศัพท์ไทย โดย สวทช.</ref> ({{lang-en|Wi-Fi หรือ WiFi}}, {{IPAc-en|ˈ|w|aɪ|f|aɪ}})<ref>{{Cite web |url=https://www.theatlantic.com/technology/archive/2014/06/why-fi-or-wiffy-how-americans-pronounce-techs-most-common-terms/373082/ |title='Why-Fi' or 'Wiffy'? How Americans Pronounce Common Tech Terms |last=Garber |first=Megan |date=2014-06-23 |website=[[The Atlantic]] |archive-url=https://web.archive.org/web/20180615190651/https://www.theatlantic.com/technology/archive/2014/06/why-fi-or-wiffy-how-americans-pronounce-techs-most-common-terms/373082/ |archive-date=2018-06-15 |url-status=live }}</ref>{{Efn|ถึงแม้ว่าโดยทั่วไปคำว่า Wi-Fi ย่อมาจาก “wireless fidelity” แต่คำนี้ไม่ได้มีความหมายเต็ม และ 'ถูกสร้างขึ้น' เพื่อให้พูดและจำง่ายกว่า IEEE802.11.<ref>{{cite web|url=https://www.newscientist.com/question/what-does-wi-fi-stand-for/|title= What does Wi-Fi stand for?}}</ref>}} เป็นกลุ่ม[[โปรโตคอลด้านการติดต่อสื่อสาร|โปรโตคอล]][[เครือข่ายไร้สาย]]ที่มีมาตรฐานของ [[IEEE 802.11]] ซึ่งมักใช้งานใน[[แลนไร้สาย|เครือข่ายอุปกรณ์ระยะใกล้]]และเข้าถึง[[อินเทอร์เน็ต]] ซึ่งอนุญาตให้แลกเปลี่ยนข้อมูลในอุปกรณ์ดิจิตอลด้วย[[คลื่นวิทยุ]]ได้ ไวไฟเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่มีผู้ใช้งานมากที่สุดในโลก โดยใช้งานใน[[small office/home office|เครือข่ายที่บ้านและสำนักงานขนาดเล็ก]]เพื่อเชื่อมคอมพิวเตอร์[[desktop computer|เดสก์ท็อป]]กับ[[แลปท็อป]], [[แท็บเล็ตคอมพิวเตอร์]], [[สมาร์ตโฟน]], [[สมาร์ตทีวี]], [[Printer (computing)|เครื่องปริ้น]] และ[[ลำโพงอัจฉริยะ]]เข้าด้วยกัน และเป็น[[เราเตอร์ไร้สาย]]เชื่อมเข้ากับอินเทอร์เน็ต และใน[[จุดเข้าถึงไร้สาย]]ในที่สาธารณะอย่างร้านกาแฟ, โรงแรม, ห้องสมุด และท่าอากาศยานเพื่อเข้าถึงอินเทอร์เน็ตในที่สาธารณะ
 
''Wi-Fi'' เป็นเครื่องหมายการค้าของ[[Wi-Fi Alliance]]ที่ไม่แสวงหากำไร ซึ่งนิยามว่า "ชุดผลิตภัณฑ์ใด ๆ ที่สามารถทำงานได้ตามมาตรฐานเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบไร้สาย (แลนไร้สาย) ซึ่งอยู่บนมาตรฐาน IEEE 802.11"<ref>{{cite web|url=http://www.webopedia.com/TERM/W/Wi_Fi.html|title=What is Wi-Fi (IEEE 802.11x)? A Webopedia Definition|last=Beal|first=Vangie|website=Webopedia|archive-url=https://web.archive.org/web/20120308123721/http://www.webopedia.com/term/w/wi_fi.html|archive-date=2012-03-08|url-status=live}}</ref><ref>{{Cite web|url=https://www.theguardian.com/technology/blog/2007/may/21/thedangersof|title=The Dangers of Wi-Fi Radiation (Updated) |first=Jack |last=Schofield |date=21 May 2007|via=www.theguardian.com}}</ref><ref>{{Cite web|url=https://www.wi-fi.org/certification|title=Certification |publisher=Wi-Fi Alliance |website=Wi-Fi.org }}</ref> {{As of|2017|post=,}} มีบริษัทใช้งาน Wi-Fi Alliance มากกว่า 800 แห่งทั่วโลก<ref name="alliance-history">{{Cite web |title=History &#124; Wi-Fi Alliance |url=https://www.wi-fi.org/who-we-are/history |access-date=2020-09-15 |website=Wi-Fi Alliance}}</ref> {{As of|2019|post=,}} ในแต่ละปี มีการส่งอุปกรณ์ที่มีไวไฟมากกว่า 3.05 พันล้านอันทั่วโลก<ref name="global-forecast">{{Cite web |date=2020-07-01 |title=Global Wi-Fi Enabled Devices Shipment Forecast, 2020 - 2024 |url=https://www.researchandmarkets.com/reports/5135535/global-wi-fi-enabled-devices-shipment-forecast |access-date=2020-11-23 |website=Research and Markets }}</ref>
'''ไวไฟ'''<ref>https://dict.longdo.com/search/%E0%B9%84%E0%B8%A7%E0%B9%84%E0%B8%9F ไวไฟ ส่วน อังกฤษ-ไทย: คลังศัพท์ไทย โดย สวทช.</ref> ({{lang-en|Wi-Fi หรือ WiFi}}, {{IPAc-en|ˈ|w|aɪ|f|aɪ}})<ref>{{Cite web |url=https://www.theatlantic.com/technology/archive/2014/06/why-fi-or-wiffy-how-americans-pronounce-techs-most-common-terms/373082/ |title='Why-Fi' or 'Wiffy'? How Americans Pronounce Common Tech Terms |last=Garber |first=Megan |date=2014-06-23 |website=[[The Atlantic]] |archive-url=https://web.archive.org/web/20180615190651/https://www.theatlantic.com/technology/archive/2014/06/why-fi-or-wiffy-how-americans-pronounce-techs-most-common-terms/373082/ |archive-date=2018-06-15 |url-status=live }}</ref>{{Efn|ถึงแม้ว่าโดยทั่วไปคำว่า Wi-Fi ย่อมาจาก “wireless fidelity” แต่คำนี้ไม่ได้มีความหมายเต็ม และ 'ถูกสร้างขึ้น' เพื่อให้พูดและจำง่ายกว่า IEEE802.11.<ref>{{cite web|url=https://www.newscientist.com/question/what-does-wi-fi-stand-for/|title= What does Wi-Fi stand for?}}</ref>}} เป็นเทคโนโลยีที่ได้รับความนิยมที่ช่วยให้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ในการแลกเปลี่ยนข้อมูลหรือการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแบบไร้สายโดยใช้คลื่นวิทยุ คำ ๆ นี้เป็นเครื่องหมายการค้าของ Wi-Fi Alliance ที่ได้ให้คำนิยามของไวไฟว่าหมายถึง "ชุดผลิตภัณฑ์ใด ๆ ที่สามารถทำงานได้ตามมาตรฐานเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบไร้สาย (แลนไร้สาย) ซึ่งอยู่บนมาตรฐาน IEEE 802.11" อย่างไรก็ตามเนื่องจากแลนไร้สายที่ทันสมัยส่วนใหญ่จะขึ้นอยู่กับมาตรฐานเหล่านี้ คำว่า "ไวไฟ" จึงนำมาใช้ในภาษาอังกฤษทั่วไปโดยเป็นคำพ้องสำหรับ "แลนไร้สาย"
เดิมทีไวไฟออกแบบมาใช้สำหรับอุปกรณ์พกพาต่าง ๆ และใช้เครือข่าย [[LAN]] เท่านั้น แต่ปัจจุบันนิยมใช้ไวไฟเพื่อต่อกับ[[อินเทอร์เน็ต]] โดยอุปกรณ์พกพาต่าง ๆ เช่นคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล เครื่องเล่นเกมส์ โทรศัพท์สมาร์ทโฟน แท็บเล็ต กล้องดิจิทัลและเครื่องเสียงดิจิทัล สามารถเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตได้ผ่านอุปกรณ์ที่เรียกว่าแอคเซสพอยต์รือ ฮอตสปอต และบริเวณที่ระยะทำการของแอคเซสพอยต์ครอบคลุมอยู่ที่ประมาณ 20 ม.ในอาคาร แต่ระยะนี้จะไกลกว่าถ้าเป็นที่โล่งแจ้ง
 
Wi-Fi มีความปลอดภัยน้อยกว่าการเชื่อมต่อแบบมีสาย (เช่น Ethernet) เพราะผู้บุกรุกไม่จำเป็นต้องเชื่อมต่อทางกายภาพ หน้าเว็บที่ใช้ SSL<ref>Secure Sockets Layer, เป็นโพรโทคอลสำหรับการเข้าระหัสบนอินเทอร์เนทอินเทอร์เน็ต</ref> มีความปลอดภัย แต่การใช้อินเทอร์เน็ตที่ไม่ได้เข้ารหัสสามารถจะตรวจพบโดยผู้บุกรุก ด้วยเหตุนี้ Wi-Fi ได้พัฒนาเทคโนโลยีการเข้ารหัสต่าง ๆ มากมาย WEP เป็นการเข้ารหัสรุ่นแรก ๆ พิสูจน์แลัวว่าง่ายต่อการบุกรุก โพรโทคอลที่มีคุณภาพสูงกว่าได้แก่ WPA, WPA2 มีเพิ่มขึ้นมาในภายหลัง คุณลักษณะตัวเลือกที่เพิ่มเข้ามาในปี 2007 ที่เรียกว่า Wi-Fi Protected Setup (WPS) มีข้อบกพร่องร้ายแรงที่ยอมให้ผู้โจมตีสามารถกู้คืนรหัสผ่านของเราเตอร์ได้<ref>"Brute forcing Wi-Fi Protected Setup" (PDF). Retrieved 2013-06-15.</ref> Wi-Fi Alliance ได้ทำการปรับปรุงแผนการทดสอบและโปรแกรมการรับรองตั้งแต่นั้นเป็นต้นมาเพื่อให้แน่ใจว่า อุปกรณ์ที่ได้รับการรับรองใหม่ทั้งหมดสามารถต่อต้านการโจมตีได้
 
== ประวัติ ==
เส้น 103 ⟶ 113:
 
== ดูเพิ่ม ==
* [[บลูทูธ]]
* IEEE 802.11
 
* WiMAX
== กมายเหตุ ==
* แลนไร้สาย
{{Notelist|colwidth=30em}}
* บลูทูธ
 
== อ้างอิง ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/วายฟาย"