ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สหภาพเคมีบริสุทธิ์และเคมีประยุกต์ระหว่างประเทศ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ginphuaktidfun (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 7:
| membership = [[สภาวิทยาศาสตร์ระหว่างประเทศ]]
| mcaption =
| abbreviation = IUPACไอยูแพ็ก, ยูแพ็ก
| motto = Advancing Chemistry Worldwide
| formation = {{start date and age|1919}}
| extinction =
| type = [[องค์การนอกภาครัฐ]][[องค์การระหว่างประเทศ|ระหว่างประเทศ]] , [[องค์กรกำหนดมาตรฐาน]]
| status =
| purpose =
| headquarters = [[รีเสิร์ชไทรแองเกิลพาร์ครีเซิร์ชไทรแองเกิลพาร์ก]], [[นอร์ทแคโรไลนา]], [[สหรัฐ]]
| region_served = ทั่วโลก
| language = อังกฤษ
| leader_title = ประธาน
| leader_name = {{flagicon|Spain}} Javierฆาบิเอร์ Garcíaการ์ซิอา-Martínezมาร์ติเนซ<ref>{{cite web|title=Our Leadership|url=https://iupac.org/who-we-are/our-leadership/|website=IUPAC|access-date=27 January 2022|archive-date=15 June 2018|archive-url=https://web.archive.org/web/20180615191524/https://iupac.org/who-we-are/our-leadership/|url-status=live}}</ref>
| leader_title2 = เลขาธิการ
| leader_name2leader_name2 = {{flagicon|New Zealand}} Richardริชาร์ด Hartshornฮาตส์ฮอร์น
| website = {{Official URL|https://iupac.org/}}
| remarks =
}}
 
'''สหภาพเคมีบริสุทธิ์และเคมีประยุกต์ระหว่างประเทศ''' ({{lang-en|International Union of Pure and Applied Chemistry}}) หรือ '''ไอยูแพ็ก''' (IUPAC;, {{IPAc-en|ˈ|aɪ|juː|p|æ|k|,_|ˈ|juː|-}}) เป็นสหพันธ์ระหว่างประเทศซึ่งประกอบด้วยองค์กรที่เป็นตัวแทนของนักเคมีในแต่ละประเทศ สหภาพฯ เป็นสมาชิกของสภาสหภาพวิทยาศาสตร์ระหว่างประเทศ (ICSU)<ref name="nao">{{cite web |url=http://www.iupac.org/nao |title=IUPAC National Adhering Organizations |publisher=Iupac.org |date=2011-06-02 |accessdate=2011-06-08 |archive-date=2011-06-04 |archive-url=https://web.archive.org/web/20110604035551/http://www.iupac.org/nao |url-status=dead }}</ref> มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ใน[[ซูริกซือริช]] [[ประเทศสวิตเซอร์แลนด์]] สำนักงานบริหาร หรือที่รู้จักกันในชื่อ "สำนักเลขาธิการ IUPACไอยูแพ็ก" ตั้งอยู่ที่อุทยานสามเหลี่ยมวิจัย [[รัฐนอร์ทแคโรไลนา]] [[สหรัฐอเมริกา]] สำนักงานบริหารแห่งนี้นำโดยผู้อำนวยการบริหารของ IUPAC<ref>{{cite web|url=http://old.iupac.org/symposia/conferences/ga09/Council_Agenda_Book_2009.pdf|title=IUPAC Council Agenda Book 2009|publisher=IUPAC|accessdate=2010-04-17|year=2009}}</ref>
 
IUPAC ไอยูแพ็กก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1919 ให้ทำหน้าที่สืบต่อจากสภาเคมีประยุกต์ระหว่างประเทศเพื่อการพัฒนาวิชา[[เคมี]] สมาชิกของสหภาพฯ ซึ่งได้แก่ National Adhering Organization อาจเป็นสมาคมเคมีประจำประเทศ สถาบันวิทยาศาสตร์ประจำประเทศ หรือองค์การอื่นที่เป็นตัวแทนของนักเคมีก็ได้ [[ระบบการเรียกชื่อสารเคมีของ IUPAC]] ได้รับการยอมรับจากนักวิชาการทั่วโลกในการพัฒนามาตรฐานสำหรับการตั้งชื่อ[[ธาตุเคมี]]และสารประกอบ นับตั้งแต่ก่อตั้งขึ้นมา IUPAC ไอยูแพ็กได้มีคณะกรรมการหลายชุดซึ่งมีความรับผิดชอบแตกต่างกัน<ref name="governing committees">[http://www.iupac.org/Organization/Committees IUPAC Committees list] retrieved 15 April 2010</ref> คณะกรรมการเหล่านี้ต่างทำงานในหลายโครงการซึ่งรวมไปถึงการวางมาตรฐานระบบการตั้งชื่อ<ref name="Interdivisional Committee on Terminology">[http://www.iupac.org/web/ins/027 Interdivisional Committee on Terminology web page] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20101009162038/http://iupac.org/web/ins/027 |date=2010-10-09 }} retrieved 15 April 2010</ref> ค้นหาวิธีในการนำเคมีมาสู่โลก<ref name="CHEMRAWN activities">[http://www.iupac.org/news/archives/2007/44th_council/Item_12-2_2007.pdf Chemdrawn] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20080706145611/http://www.iupac.org/news/archives/2007/44th_council/Item_12-2_2007.pdf |date=2008-07-06 }} retrieved 15 April 2010</ref> และตีพิมพ์ผลงานต่าง ๆ
 
IUPAC ไอยูแพ็กเป็นที่รู้จักกันดีที่สุดในผลงานด้านการวางมาตรฐานระบบการตั้งชื่อในวิชาเคมีและวิทยาศาสตร์สาขาอื่น แต่ IUPAC ไอยูแพ็กยังได้มีผลงานตีพิมพ์ในหลายสาขา ทั้งในด้านเคมี ชีววิทยาและฟิสิกส์ ผลงานที่สำคัญของ IUPAC ไอยูแพ็กในสาขาเหล่านี้รวมไปถึงการวางมาตรฐานชื่อรหัสลำดับเบสนิวคลีโอไทด์<ref name="History of IUPAC">{{Cite book|last= Fennel |first= R.W. |title= History of IUPAC, 1919-1987 |publisher= Blackwell Science |year= 1994 |isbn= 0-86542-8786(94)}}</ref>
 
== ระบบการเรียกชื่อสารเคมี ==
{{บทความหลัก|ระบบการเรียกชื่อสารเคมีของ IUPACตามระบบไอยูแพ็ก}}
คณะกรรมการ IUPAC ไอยูแพ็กมีประวัติยาวนานในการตั้งชื่ออย่างเป็นทางการของ[[สารประกอบอินทรีย์]]และ[[สารอนินทรีย์|อนินทรีย์]] ระบบการตั้งชื่อได้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อที่ว่าสารประกอบใด ๆ จะสามารถเรียกชื่อได้ภายใต้กฎมาตรฐานเดียวกันเพื่อหลีกเลี่ยงชื่อซ้ำกัน ผลงานตีพิมพ์แรก ซึ่งเป็นข้อมูลจากสภาเคมีประยุกต์ระหว่างประเทศ ว่าด้วยระบบการเรียกชื่อสารประกอบอินทรีย์ของ IUPAC ไอยูแพ็กสามารถพบได้ตั้งแต่ช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ในหนังสือ ''A Guide to IUPAC Nomenclature of Organic Compounds''
 
=== ระบบการเรียกชื่อสารอินทรีย์ ===
ระบบการเรียกชื่อสารอินทรีย์ของ IUPAC ไอยูแพ็กนั้นแบ่งออกเป็นสามส่วนหลัก ได้แก่ [[หมู่แทนที่]] ความยาวโซ่คาร์บอนและชื่อเคมีลงท้าย<ref name="Chemistry The Central Science"/> หมู่แทนที่หมายถึง[[หมู่ฟังก์ชัน]]ใด ๆ ที่เกาะเข้ากับโซ่คาร์บอนหลัก โซ่คาร์บอนหลักเป็นโซ่ที่ประกอบด้วย[[คาร์บอน]]เกาะกันเป็นแถวที่ยาวที่สุดที่เป็นไปได้ ส่วนชื่อเคมีลงท้ายเป็นการระบุว่าโมเลกุลของสารนั้นเป็นประเภทใด ยกตัวอย่างเช่น ชื่อลงท้าย "เอน" หมายความว่า ในโซ่คาร์บอนนั้นเกาะกันด้วยพันธะเดี่ยวทั้งหมด เช่นใน "เฮกเซน" (C<sub>6</sub>H<sub>14</sub>)<ref name="Organic Chemistry I As a Second Language: Translating the Basic Concepts">{{Cite book|last= Klein |first= David R. |title= Organic Chemistry I As a Second Language: Translating the Basic Concepts Second Edition |publisher= John Wiley & Sons Inc. |year= 2008 |isbn=978-0470-12929-6}}</ref>
 
อีกตัวอย่างหนึ่งของระบบการเรียกชื่อสารอินทรีย์ของ IUPAC คือไอยูแพ็กคือ ไซโคลเฮกซานอล
[[ไฟล์:Cyclohexanol acsv.svg|thumb|150px|ไซโคลเฮกซานอล]]
บรรทัด 48:
 
=== ระบบการเรียกชื่อสารอนินทรีย์ ===
ระบบการเรียกชื่อสารอนินทรีย์พื้นฐานของ IUPAC ไอยูแพ็กนั้นมีสองส่วนหลัก คือ [[ไอออนบวก]]และ[[ไอออนลบ]] ไอออนบวกเป็นชื่อสำหรับไอออนที่มีประจุบวกและไอออนลบเป็นชื่อสำหรับไอออนที่มีประจุลบ
 
ตัวอย่างของระบบการเรียกชื่อสารอนินทรีย์ของ IUPAC คือนทรีย์ของไอยูแพ็กคือ [[โพแทสเซียมคลอไรด์]] ซึ่ง[[โพแทสเซียม]]เป็นชื่อไอออนบวก และ[[คลอไรด์]]เป็นไอออนลบ<ref name="Chemistry The Central Science"/>
 
== อ้างอิง ==