ผลต่างระหว่างรุ่นของ "องค์การสนธิสัญญาป้องกันภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ginphuaktidfun (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 8:
|map = Map of SEATO member countries - en.svg
|mcaption = แผนที่ประเทศที่เป็นสมาชิกของซีโต้แสดงเป็นสีน้ำเงิน
|abbreviation = SEATOซีโต้
|motto =
|formation = 8 กันยายน .ศ. 19542497
|extinction = 30 มิถุนายน .ศ. 19772520
|type = [[พันธมิตรทางทหาร]][[องค์การระหว่างรัฐบาล|ระหว่างรัฐบาล]]
|type = [[องค์การระหว่างประเทศ]] กับ[[พันธมิตรทางทหาร]]
|status = <!-- ad hoc, treaty, foundation, etc -->
|purpose = <!-- focus as e.g. humanitarian, peacekeeping, etc -->
บรรทัด 28:
|{{flag|France}}
|{{flag|United Kingdom}}
|{{flag|United States}}}}<br>'''ชาติที่ไม่เป็นสมาชิก<br>ที่ปกป้องโดยซีโต้คุ้มครอง'''{{Collapsible list|title=3 ชาติ|{{flagcountry|Kingdom of Laos}}|{{flag|South Vietnam}}|{{flagicon|Cambodia}} [[ราชอาณาจักรกัมพูชา (พ.ศ. 2496–2513)|กัมพูชา]] (ก่อน 1956พ.ศ. 2499)}}
|language = {{ulist|[[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]|[[ภาษาอูรดู|อูรดู]]|[[ภาษาไทย|ไทย]]|[[ภาษาฟิลิปีโน|ฟิลิปีโน]]|[[ภาษาสเปน|สเปน]]|[[ภาษาฝรั่งเศส|ฝรั่งเศส]]}}
|leader_title = <!-- position title for the leader of the org -->
บรรทัด 42:
}}
'''องค์การสนธิสัญญาป้องกันภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้''' (ตัวย่อ: สปอ.; {{lang-en|Southeast Asia Treaty Organization}}) หรือ '''ซีโต้''' (SEATO) เป็นองค์การที่ก่อตั้งขึ้นตาม '''สนธิสัญญามะนิลา''' ลงนามเมื่อวันที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2497 ณ กรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ และมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2498 ในช่วง[[สงครามเย็น]] โดย 8 ประเทศ คือ
* [[สหรัฐอเมริกา]]
* [[สหราชอาณาจักร]]
* [[ประเทศฝรั่งเศส]]
บรรทัด 55:
อย่างไรก็ตาม ซีโต้ประสบความล้มเหลวในการเข้าแทรกแซงความขัดแย้งใน[[ประเทศลาว]]และ[[ประเทศเวียดนาม|เวียดนาม]] เนื่องจากการตัดสินใจนั้นต้องการมติเอกฉันท์ แต่ฝรั่งเศสและฟิลิปปินส์นั้นไม่เห็นด้วย
 
สำนักงานใหญ่ขององค์การเคยตั้งอยู่ที่[[กรุงเทพมหานคร]] มี[[พจน์ สารสิน|นายพจน์ สารสิน]] จาก[[ประเทศไทย]] ดำรงตำแหน่งเลขาธิการทั่วไป ซึ่งเป็นตำแหน่งผู้นำอย่างเป็นทางการขององค์การ ตั้งแต่ พ.ศ. 2500 ถึง พ.ศ. 2507 ปัจจุบันนี้บริเวณที่เคยเป็นที่ตั้งสำนักงานใหญ่ขององค์การ ที่ถนนศรีอยุธยา ได้กลายเป็นที่ตั้งของ [[กระทรวงการต่างประเทศ]]ของประเทศไทย
 
ซีโต้ยุบเลิกอย่างเป็นทางการเมื่อ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2520<ref name=EB60>{{harvnb|Encyclopaedia Britannica (India)|2000|p=60}}</ref>เนื่องจากสถานการณ์ทางการเมืองของโลกได้เปลี่ยนไปมาก [[สหรัฐอเมริกา]]ถอนกำลังทหารออกจาก [[เวียดนามใต้]] และรัฐบาลที่อเมริกาสนับสนุนประสบความพ่ายแพ้ทั้งในเวียดนาม ลาว และกัมพูชา และทำให้องค์การซีโต้หมดความจำเป็นในฐานะเครื่องมือในการดำเนินนโยบายต่างประเทศของ[[สหรัฐอเมริกา]]ในภูมิภาคนี้
 
มรดกของซีโต้ในประเทศไทยคงเหลือเพียงอาคารสำนักงานใหญ่ ซึ่งรัฐบาลไทยได้ใช้เป็นที่ทำการส่วนหนึ่งของกระทรวงการต่างประเทศไทยอยู่หลายปี ต่อมาถูกรื้อถอนลงและมีการสร้างอาคารที่ทำการแห่งใหม่ของกระทรวงการต่างประเทศ (หลังปัจจุบัน)ในพื้นที่เดิม กับโรงเรียนวิศวกรรม สปอ. ซึ่งต่อมาได้เปลี่ยนรูปมาเป็นสถาบันวิชาการอิสระ เรียกว่า[[สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย]] หรือ AIT ในปัจจุบันนี้{{อ้างอิง}}