ผลต่างระหว่างรุ่นของ "องค์การการค้าโลก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ginphuaktidfun (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
{{Infobox organization
| name = องค์การการค้าโลก
| native_name = {{nowrap|{{lang|en|World Trade Organization}} <small>{{en icon}}</small><br/>{{lang|fr|Organisation mondiale du commerce}} <small>{{fr icon}}</small><br />{{lang|es|Organización Mundial del Comercio}} <small>{{es icon}}</small>}}
| image = World Trade Organization (logo and wordmark).svg
| map = WTO members and observers.svg
| mcaption = <div style="text-align:left;">{{legend|#008000|ชาติสมาชิก}} {{legend|#0174DF|ชาติสมาชิกตัวแทนของซึ่งมีสหภาพยุโรปเป็นตัวแทนด้วย}} {{legend|#eeee00|ชาติสังเกตการณ์}} {{legend|#ff1111|ชาติที่ไม่เข้าร่วม}}</div>
----
| type = [[องค์การระหว่างรัฐบาล]]
| purpose = ลดภาษีและลดอุปสรรคทางการค้าอื่น ๆ
| headquarters = ศูนย์วิลเลียม แรพพาร์ด,ปพาร์ด [[เจนีวา]], [[ประเทศสวิตเซอร์แลนด์]]
| coords = {{coord|46|13|27|N|06|08|58|E|display=inline,title}}
| region_served = ทั่วโลก
| membership = 164 ประเทศ (160 รัฐสมาชิกสหประชาชาติ, สหภาพยุโรป, ฮ่องกง, มาเก๊า และ ไต้หวัน)<ref>[http://wto.org/english/thewto_e/whatis_e/tif_e/org6_e.htm Members and Observers] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20110910105304/http://www.wto.org/english/thewto_e/whatis_e/tif_e/org6_e.htm |date=10 September 2011 }} at WTO official website</ref>
| language = [[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]], [[ภาษาฝรั่งเศส|ฝรั่งเศส]], [[ภาษาสเปน|สเปน]]<ref>[http://www.wto.org/english/thewto_e/secre_e/div_e.htm Languages, Documentation and Information Management Division] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20111224151405/http://wto.org/english/thewto_e/secre_e/div_e.htm |date=24 December 2011 }} at WTO official site</ref>
| leader_title = ผู้อำนวยการ
| leader_name = [[เอ็นอึงโกซี่ซี โอคอนอะโคนโจ-อิเวลา]]<ref>{{Cite web|date=2021-02-15|title=Nigeria's Ngozi Okonjo-Iweala confirmed as WTO chief|url=http://www.theguardian.com/world/2021/feb/15/nigerias-ngozi-okonjo-iweala-confirmed-as-wto-chief|access-date=2021-03-01|website=the Guardian|language=en}}</ref>
| formation = {{start date and ageวันเกิดและอายุ|19952538|011|011|df=y}}
| budget = 197.2 ล้าน[[ฟรังก์สวิส]] (ประมาณ 220 ล้านดอลลาร์สหรัฐ) ในปี 2020<ref>{{cite news |url=http://www.wto.org/english/thewto_e/secre_e/budget_e.htm |title=WTO Secretariat budget for 2020 |publisher=WTO official site |access-date=20 February 2021 }}</ref>
| num_staff = 640 คน<ref name="wto.org"/>
| website = {{URL|https://www.wto.org/}}
}}
 
'''องค์การการค้าโลก''' ({{lang-en|World Trade Organization, WTO}}; {{lang-fr|Organisation mondiale du commerce, OMC}}; {{lang-es|Organización Mundial del Comercio, OMC}}) เป็นองค์การระหว่างประเทศที่ทำหน้าที่เกี่ยวข้องกับข้อตกลงทางด้านการค้าระหว่างชาติ เป็นเวทีสำหรับการเจรจาต่อรอง ตกลงและขจัดข้อขัดแย้งในเงื่อนไขและกฎเกณฑ์ทางการค้าและการบริการระหว่างประเทศสมาชิก. องค์การการค้าโลกทำหน้าที่ห้ามการเลือกปฏิบัติทางการค้าระหว่างประเทศคู่ค้า แต่มีการกำหนดข้อยกเว้นไว้เพื่อการคุ้มครองสิ่งแวดล้อม, ความมั่นคงของชาติ และเป้าหมายที่สำคัญอื่น ๆ
 
องค์การการค้าโลกจัดตั้งขึ้นแทนที่[[ความตกลงทั่วไปว่าด้วยการค้าและภาษีศุลกากร]] (General Agreement on Tariffs and Trade) เมื่อวันที่ [[1 มกราคม]] [[พ.ศ. 2538]] มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่นคร[[เจนีวา]] ประเทศ[[ประเทศสวิตเซอร์แลนด์]] ปัจจุบันมีสมาชิก 164 ประเทศและดินแดน.<ref>[http://www.wto.org/english/thewto_e/whatis_e/tif_e/org6_e.htm Members and Observers] WTO official site</ref>
 
องค์การการค้าโลกมีงบประมาณปี พ.ศ. 2554 ทั้งสิ้น 197 ล้าน[[ฟรังก์สวิส]] (ราว 7,000 ล้านบาท) มีเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานในสำนักเลขาธิการ 640 คน เลขาธิการคนปัจจุบันชื่อ [[:en:Ngozi_Okonjo-Iweala|เอ็นอึงโกซี่ซี โอคอนอะโคนโจ-อิเวลา]]
 
องค์การการค้าโลกทำหน้าที่ดูแลข้อตกลงย่อยทางการค้าเป็นจำนวนมากที่มีสถานะเป็นกฎหมายระหว่างประเทศ. ปัจจุบันมีข้อตกลงทางการค้าที่อยู่ในอาณัติขององค์การการค้าโลกราว 60 ข้อตกลง. ข้อตกลงที่สำคัญและเป็นที่รู้จักกันมากที่สุด ได้แก่ ความตกลงทั่วไปว่าด้วยการค้าและภาษีศุลกากร (General Agreement on Tariff and Trade; GATT) ที่ดำเนินการมาก่อนหน้านี้, ความตกลงทั่วไปว่าด้วยการค้าบริการ (General Agreement on Trade in Services; GATS) และ ความตกลงว่าด้วยการค้าที่เกี่ยวข้องกับทรัพย์สินทางปัญญาของการค้า (The agreement on Trade-Related Aspects of Intellectual Property Rights; TRIPS).<ref>{{cite web|url=http://www.wto.org/english/docs_e/legal_e/legal_e.htm|title=Legal texts – the WTO agreements|publisher=WTO|date=|accessdate=30 May 2010|archive-url=https://web.archive.org/web/20100524202121/http://www.wto.org/english/docs_e/legal_e/legal_e.htm|archive-date=24 May 2010}}</ref>
 
<br />
 
== ประวัติ ==
ก่อนจัดตั้งองค์การการค้าโลกขึ้นมาได้นี้ นี้ขึ้นมาได้บรรดาประเทศสมาชิกทั้งปวงในโลกต่างประชุมเจรจาเรื่องนี้อยู่หลายปี ในที่สุดจึงสามารถทำความตกลงกันได้ และลงนามในความตกลงกันเมื่อวันที่ 15 เมษายน .ศ. 19942537 เรียกว่าความตกลงมาร์ราเกชจัดตั้งองค์การการค้าโลก. องค์การการค้าโลกนี้มีฐานะเป็นนิติบุคคล โดยได้รับเอกสิทธิ์และความคุ้มกันที่จำเป็นสำหรับการปฏิบัติหน้าที่ของตนโดยอิสระ ในส่วนที่เกี่ยวพันกับองค์การ. องค์การ WTO การค้าโลกได้รับการก่อตั้งขึ้น เนื่องจากบรรดาประเทศภาคีความตกลงต่างเล็งเห็นว่า มีความจำเป็นที่ประเทศสมาชิกทั้งหลายจะต้องดำเนินการเพื่อยกมาตรฐานความเป็นอยู่ ขยายการผลิตและการค้าสินค้าและบริการ ในขณะที่ให้มีการใช้ทรัพยากรของโลกให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการพัฒนาอย่างถาวร. เพื่อที่จะบรรลุวัตถุประสงค์นี้ จึงจำเป็นต้องกำหนดรูปแบบที่จะประกันว่า ประเทศกำลังพัฒนา โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศที่พัฒนาน้อยที่สุด (Least Developed Countries) จะได้รับส่วนแบ่งจากความเติบโตของการค้าระหว่างประเทศที่พอเพียง และสอดคล้องกับความต้องการพัฒนาเศรษฐกิจของตน, ทั้งยังเห็นพ้องกันที่จะพัฒนาระบบการค้าพหุภาคี (Multilateral Trade System) ซึ่งรวมทุกเรื่องเข้าด้วยกัน และมีผลในทางปฏิบัติและมีความคงทนถาวรมากขึ้น โดยรวมเข้าไว้ซึ่งความตกลงทั่วไปว่าด้วยภาษีศุลกากรและการค้า (GATTแกตต์).
 
ผลของความพยายามในการเปิดเสรีทางด้านการค้าในอดีต และผลทั้งหมดของการเจรจาการค้าพหุภาคีรอบอุรุกวัย หน้าที่ต่าง ๆ สำคัญขององค์การ WTO ที่สำคัญ ๆการค้าโลก ได้แก่
 
* อำนวยความสะดวกในการปฏิบัติตาม การบริหาร และการดำเนินการเพื่อส่งเสริมวัตถุประสงค์ของความตกลงนี้ และความตกลงการค้าพหุภาคี
* จัดให้มีเวทีเพื่อการเจรจาระหว่างสมาชิกเกี่ยวกับความสัมพันธ์ทางการค้าพหุภาคีของสมาชิกเหล่านั้น
 
* บริหารความเข้าใจว่าด้วยกฎและวิธีดำเนินการที่ใช้บังคับการระงับข้อพิพาท
* บริหารกลไกทบทวนนโยบายทางการค้า และร่วมมือตามที่เหมาะสมกับกองทุนการเงินระหว่างประเทศ และกับธนาคารระหว่างประเทศเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนา