ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ดีวีนากอมเมเดีย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
บรรทัด 1:
{{Italic title}}
{{กล่องข้อมูล หนังสือ
| name = ดีวีนากอมเมเดีย<br /><small>Divina Commedia</small>
เส้น 24 ⟶ 25:
}}
{{ใช้ปีคศ}}
'''ดีวีนากอมเมเดีย''' ({{lang-it|Divina Commedia}}; {{lang-en|Divine Comedy}}) หรือไตรภูมิดันเต เป็นวรรณกรรม[[อุปมานิทัศน์]]ที่[[ดันเต อาลีกีเอรี]] เขียนขึ้นระหว่างปี ค.ศ. 1308 จนกระทั่งเสียชีวิตในปี ค.ศ. 1321 ถือเป็นกวีนิพนธ์สำคัญของวรรณกรรมอิตาลีและเป็นหนึ่งในงานชิ้นสำคัญที่สุดชิ้นหนึ่งของวรรณกรรมของโลก<ref>{{cite book | last=Bloom | first=Harold | title=The Western Canon | date=1994}} See also Western canon for other "canons" that include the Divine Comedy.</ref> กวีนิพนธ์นี้เป็นเป็นจินตนิยายและ[[อุปมานิทัศน์ในสมัยกลาง|อุปมานิทัศน์]]ของคริสเตียนสะท้อนให้เห็นถึงการวิวัฒนาการของ[[ปรัชญาสมัยกลาง]]ในเรื่องที่เกี่ยวกับ[[โรมันคาทอลิก]]ของตะวันตก นอกจากนั้นก็ยังเป็นหนังสือที่มีบทบาทต่อ[[สำเนียงทัสคัน]] (Tuscan dialect) ตามที่เขียนเป็น[[ภาษาอิตาลี]]มาตรฐาน<ref>See {{cite book | last=Lepschy | first=Laura | coauthors=Lepschy, Giulio | title=The Italian Language Today | date=1977}} or any other history of Italian language.</ref>
 
“ดีวีนากอมเมเดีย” แบ่งออกเป็นสามตอน “[[นรก (ดันเต)|นรก]]” (Inferno) “[[แดนชำระ]]” (Purgatorio) และ “[[สวรรค์ (ดันเต)|สวรรค์]]” (Paradiso) กวีนิพนธ์เขียนในรูปของบุคคลที่หนึ่งและเป็นเรื่องที่บรรยายการเดินทางของดานเตไปยังภูมิสามภูมิของผู้ที่เสียชีวิตไปแล้ว ที่เริ่มการเดินทางตั้งแต่[[วันศุกร์ศักดิ์สิทธิ์]]ไปจนถึงวันพุธหลังจากวัน[[อีสเตอร์]]ของปี ค.ศ. 1300 โดยมีกวีโรมัน [[เวอร์จิล]] กวีโรมัน เป็นผู้นำใน “[[นรก (ดันเต)|นรก]]” และ “[[แดนชำระ]]” และ[[เบียทริเช พอร์ตินาริ]] เป็นผู้นำใน “[[สวรรค์ (ดันเต)|สวรรค์]]” เบียทริเชเป็นสตรีในอุดมคติที่ดันเตพบเมื่อยังเป็นเด็กและชื่นชมต่อมาแบบ “[[ความรักในราชสำนัก]]” (courtly love) ที่พบในงานสมัยแรกของดันเตใน “[[ชีวิตใหม่ (ดันเต)|ชีวิตใหม่]]” (La Vita Nuova) ที่เขียนในปี ค.ศ. 1295
 
ชื่อเดิมของหนังสือก็เป็นเพียงชื่อสั้นๆ ว่า “Commedia” แต่ต่อมา [[โจวันนี บอกกัชโช]]ก็มาเพิ่ม “Divina” ข้างหน้าชื่อ ฉบับแรกที่พิมพ์ที่มีคำว่า “Divine” อยู่หน้าชื่อ เป็นฉบับที่นักมานุษยวิทยาฟื้นฟูศิลปวิทยาของเวนิส [[โลโดวีโก ดอลเช]] (Lodovico Dolce) นักมานุษยวิทยาฟื้นฟูศิลปวิทยาของเวนิส พิมพ์ในปี ค.ศ. 1555<ref>Ronnie H. Terpening, ''Lodovico Dolce, Renaissance Man of Letters'' (Toronto, Buffalo, London: University of Toronto Press, 1997), p. 166.</ref>
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
== ดูเพิ่ม ==
* [[ดันเต อาลีกีเอรี]]
 
[[หมวดหมู่:ชีวิตหลังความตาย]]
[[หมวดหมู่:วรรณกรรมศาสนาคริสต์]]
[[หมวดหมู่:วรรณกรรมเชิงปรัชญาอิตาลี]]
[[หมวดหมู่:วรรณกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา]]
[[หมวดหมู่:อุปมานิทัศน์]]
[[หมวดหมู่:วรรณกรรมเชิงปรัชญา]]
{{โครงวรรณกรรม}}