ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สงครามอะแซหวุ่นกี้"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
NewFrontierHistoryThai (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 11:
| combatant1 = [[ไฟล์:Flag of the Alaungpaya Dynasty of Myanmar.svg|20px|border]] [[ราชวงศ์คองบอง]]
| combatant2 = [[ไฟล์:Flag of Thailand (Ayutthaya period).svg|20px|border]] [[กรุงธนบุรี]]
| combatant3 = [[ไฟล์:Flag of Thailand (Ayutthaya period).svg|20px|border]]ชุมนุมต่าง ๆ ในสยาม
* ชุมนุมจันทบุรี
* ชุมนุมนครศรีธรรมราช
* ชุมนุมพิษณุโลก
* ชุมนุมพิมาย
* ชุมนุมเจ้าฝาง
| commander1 = [[ไฟล์:Flag of the Alaungpaya Dynasty of Myanmar.svg|20px|border]] [[พระเจ้ามังระ]] <br> [[ไฟล์:Flag of the Alaungpaya Dynasty of Myanmar.svg|20px|border]] [[อะแซหวุ่นกี้]] <br> [[ไฟล์:Flag of the Alaungpaya Dynasty of Myanmar.svg|20px|border]] [[เนเมียวสีหบดี]]
| commander2 = [[ไฟล์:Flag of Thailand (Ayutthaya period).svg|20px|border]] [[สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี]] <br> [[ไฟล์:Flag of Thailand (Ayutthaya period).svg|20px|border]] [[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช|เจ้าพระยาจักรี (ทองด้วง)]] <br> [[ไฟล์:Flag of Thailand (Ayutthaya period).svg|20px|border]] [[สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท|เจ้าพระยาสุรสีห์พิษณุวาธิราช (บุญมา)]]
| commander3 = เจ้าพระยาพิษณุโลก(เรือง) <br> พระอินทรอากร <br> พระปลัด(หนู) <br> หลวงแพ่ง <br> เจ้าฝาง
| strength1 = [[ไฟล์:Flag of the Alaungpaya Dynasty of Myanmar.svg|20px|border]] [[กองทัพหลวงพม่า]] <br>[[ไฟล์:Flag of the Alaungpaya Dynasty of Myanmar.svg|20px|border]] กองทหารมอญ <br>
รวม 50,000 นาย
| strength2 = [[ไฟล์:Flag of Thailand (Ayutthaya period).svg|20px|border]] [[กองทัพหลวงสยาม]] <br>
รวม 30,000 นาย (ประเมิน)
| strength3 = [[ไฟล์:Flag of Thailand (Ayutthaya period).svg|20px|border]] กองกำลังแต่ละชุมนุม
}}
 
เส้น 34 ⟶ 26:
ในเดือนมกราคมพ.ศ. 2310<ref name=":0">ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ ๖๕ [[พระราชพงศาวดาร ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)|พระราชพงศาวดารกรุงธนบุรี ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)]]</ref> ประมาณสามเดือนก่อน[[การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง]] พระยาตาก (สิน) ได้นำกองกำลังฝ่าวงล้อมของพม่าออกมาจากอยุธยา เดินทางไปตั้งมั่นที่ระยอง หลังจากการเสียกรุงศรีอยุธยาให้แก่พม่าในเดือนเมษายน พ.ศ. 2310 ฝ่ายพม่าจำต้องดึงกองกำลังส่วนใหญ่ในสยามไปรบกับจีนทางเหนือ ใน[[สงครามจีน–พม่า|สงครามจีน-พม่า]] (Sino-Burmese War) เหลือกองกำลังพม่ารักษาการอยู่ในสยามจำนวนหนึ่ง มีสุกี้พระนายกองหรือ[[นายทองสุก]]ชาวมอญเป็นผู้รักษาการอยู่ที่[[ค่ายโพธิ์สามต้น|ค่ายโพธิ๋สามต้น]] อาณาจักรสยามแยกแบ่งออกเป็นชุมนุมต่างๆ พระยาตากเข้ายึดเมือง[[จังหวัดจันทบุรี|จันทบุรี]]ได้สำเร็จในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2310<ref name=":0">ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ ๖๕ [[พระราชพงศาวดาร ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)|พระราชพงศาวดารกรุงธนบุรี ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)]]</ref> แล้วยกทัพกลับเข้ามาอยุธยาเข้าตีค่ายพม่าโพธิ์สามต้นได้สำเร็จในเดือนพฤศจิกายน ทรงปราบดาภิเษกขึ้นเป็น[[สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี]] เมื่อวันที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2310 ปีต่อมาในพ.ศ. 2311 เสด็จไปรบกับพม่าใน[[สงครามบางกุ้ง]]ได้รับชัยชนะ จากนั้นเสด็จไปปราบชุมนุมต่างๆ
 
ในพ.ศ. 2313 สมเด็จพระเจ้าตากสินเสด็จยกทัพไปปราบ[[ชุมนุมเจ้าพระฝาง]] มีพระราชโองการให้[[เจ้าพระยาพิชัยราชา|พระยาพิชัยราชา]] และ[[สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท|พระยายมราช (บุญมา)]] เป็นทัพหน้า<ref name=":0">ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ ๖๕ [[พระราชพงศาวดาร ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)|พระราชพงศาวดารกรุงธนบุรี ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)]]</ref> เข้าตียึดเมือง[[จังหวัดพิษณุโลก|พิษณุโลก]]ได้สำเร็จในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2313 ปราบชุมนุมเจ้าพระฝางลงได้สำเร็จ รวบรวมอาณาเขตขัณฑสีมาของอยุธยาไว้ได้ทั้งหมดแล้ว จึงมีพระราชโองการแต่งตั้งข้าหลวงเดิมซึ่งมีความชอบในการสงครามให้อยู่ครองหัวเมืองเหนือ พร้อมจัดสรรกองกำลังไว้รับมือการรุกรานของพม่าไว้ดังนี้;<ref name=":1">พระราชพงษาวดารกรุงเก่า (ฉบับหมอบรัดเล).</ref>
 
* พระยายมราช (บุญมา) เป็น เจ้าพระยาสุรสีห์พิษณุวาธิราชฯ เจ้าเมืองพิษณุโลก มีกำลังพล 15,000 คน
เส้น 59 ⟶ 51:
 
=== การจัดเตรียมทัพของพม่า ===
ฝ่ายพม่าพระเจ้ามังระทรงเตรียมทัพเข้ารุกรานสยามทั้งจากทางเหนือล้านนาและจากทางตะวันตกหัวเมืองมอญ แต่ต้องประสบกับปัญหาเหตุขัดขวางทั้งสองด้าน<ref name=":3">[[กรมพระยาดำรงราชานุภาพ|ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จกรมพระยา]]. พงษาวดารเรื่องเรารบพม่า ครั้งกรุงธน ฯ แลกรุงเทพ ฯ.</ref> เนื่องจากฝ่ายไทยได้ยกไปตีเมืองเชียงใหม่ก่อน และมอญได้เป็นกบฏขึ้น พระเจ้ามังระเสด็จจากเมืองอังวะมายกฉัตรพระมหาเจดีย์เกตุธาตุ ([[เจดีย์ชเวดากอง]]) ที่เมืองย่างกุ้งตั้งแต่เดือนมีนาคม พ.ศ. 2318<ref name=":2">Phraison Salarak (Thien Subindu), Luang. Intercourse between Burma and Siam as recorded in Hmannan Yazawindawgyi. Bangkok; July 25, 1919.</ref> อะแซหวุ่นกี้ตระหนักว่าหากใช้ยุทธวิถีโจมตีสยามจากสองด้านมาบรรจบกันดังเช่นครั้งเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สองจะไม่ได้ผล ควรหันไปใช้ยุทธวิถีแบบครั้งสมัย[[พระเจ้าบุเรงนอง]]<ref name=":3">[[กรมพระยาดำรงราชานุภาพ|ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จกรมพระยา]]. พงษาวดารเรื่องเรารบพม่า ครั้งกรุงธน ฯ แลกรุงเทพ ฯ.</ref> คือยกทัพใหญ่เข้าโจมตีหัวเมืองเหนือตัดกำลังฝ่ายไทยลงเสียก่อน แล้วยึดเอาหัวเมืองเหนือที่ฐานที่มั่นยกทัพทางแม่น้ำเจ้าพระยาลงมาตีกรุงธนบุรี อะแซหวุ่นกี้มีหนังสือขึ้นไปกราบทูลพระเจ้ามังระว่า ทัพฝ่ายพม่าพ่ายแพ้ที่บางแก้ว สูญเสียรี้พลไปจำนวนมากฝ่ายจับเป็นเชลยไปได้พันเศษคน ฝ่ายไทยยังมีกำลังเนื่องด้วยหัวเมืองฝ่ายเหนือยัง "บริบูรณ์"<ref name=":1">พระราชพงษาวดารกรุงเก่า (ฉบับหมอบรัดเล).</ref> มั่งคั่งไปด้วยผู้คนและทรัพยากร จึงขอพระราชทานยกทัพไปตีหัวเมืองเหนือให้ได้เสียก่อน ฝ่ายสยามจึงจะอ่อนกำลังลง พระเจ้ามังระทรงเห็นชอบด้วย มีพระราชโองการให้อะแซหวุ่นกี้ยกทัพเข้าโจมตีหัวเมืองเหนือให้ราบคาบยับเยินให้จงได้ พระเจ้ามังระประทับเมืองย่างกุ้งอยู๋สามเดือน หลังจากสมโภชเฉลิมฉลองพระมหาเจดีย์เกตุธาตุแล้ว จึงเสด็จกลับเมืองอังวะ
ในเดือนกันยายนพ.ศ. 2318 [[พระยาวิเชียรปราการ (บุญมา)|พระยาวชิรปราการ (บุญมา)]] เจ้าเมืองเชียงใหม่ มีหนังสือลงมายังธนบุรีบอกว่า ฝ่ายโปสุพลาเนเมียวสีหบดี และ[[โป่มะยุง่วน|โปมะยุง่วน]] ซึ่งพ่ายแพ้ถอยไปอยู่ที่เมือง[[อำเภอเชียงแสน|เชียงแสน]]นั้น ได้ข่าวว่ากำลังเตรียมการยกทัพจากเชียงแสนมาตีเมืองเชียงใหม่อีกครั้ง สมเด็จพระเจ้าตากสินจึงมีพระราชโองการให้เจ้าพระยาจักรี และเจ้าพระยาสุรสีห์ ยกทัพเมืองพิษณุโลกและหัวเมืองเหนือไปเตรียมป้องกันเมืองเชียงใหม่ และยกไปตีเมืองเชียงแสนให้สำเร็จ
 
อะแซหวุ่นกี้มีคำสั่ง<ref name=":3">[[กรมพระยาดำรงราชานุภาพ|ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จกรมพระยา]]. พงษาวดารเรื่องเรารบพม่า ครั้งกรุงธน ฯ แลกรุงเทพ ฯ.</ref>ให้โปสุพลาเนเมียวสีหบดี และ[[โป่มะยุง่วน|โปมะยุง่วน]] ซึ่งพ่ายแพ้ถอยไปอยู่ที่เมือง[[อำเภอเชียงแสน|เชียงแสน]]นั้น ยกทัพจากเชียงแสนลงมาโจมตีเมืองเชียงใหม่ในฤดูฝนปีพ.ศ. 2318 รวมทั้งเตรียมเสบียงจากเชียงแสนมาให้อะแซหวุ่นกี้ที่หัวเมืองเหนือด้วย โปสุพลาและโปมะยุง่วนจึงยกทัพจากเชียงแสนลงมาตีเมืองเชียงใหม่ในเดือนกันยายนพ.ศ. 2318 ฝ่ายไทยหลังจากเสร็จสิ้นสงครามบางแก้วแล้ว มีเวลาว่างอยู่ห้าเดือน<ref name=":3">[[กรมพระยาดำรงราชานุภาพ|ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จกรมพระยา]]. พงษาวดารเรื่องเรารบพม่า ครั้งกรุงธน ฯ แลกรุงเทพ ฯ.</ref> ในเดือนกันยายน [[พระยาวิเชียรปราการ (บุญมา)|พระยาวชิรปราการ (บุญมา)]] เจ้าเมืองเชียงใหม่ มีหนังสือลงมายังธนบุรีบอกว่า ได้ข่าวว่าโปสุพลาเนเมียวสีหบดีและโปมะยุง่วนกำลังเตรียมการยกทัพจากเชียงแสนมาตีเมืองเชียงใหม่อีกครั้ง สมเด็จพระเจ้าตากสินจึงมีพระราชโองการให้เจ้าพระยาจักรี และเจ้าพระยาสุรสีห์ ยกทัพเมืองพิษณุโลกและหัวเมืองเหนือไปเตรียมป้องกันเมืองเชียงใหม่ และยกไปตีเมืองเชียงแสนให้สำเร็จ
ฝ่ายพระเจ้ามังระ เสด็จจากเมืองอังวะมายกฉัตรพระมหาเจดีย์เกตุธาตุ ([[เจดีย์ชเวดากอง]]) ที่เมืองย่างกุ้งตั้งแต่เดือนมีนาคม พ.ศ. 2318<ref name=":2">Phraison Salarak (Thien Subindu), Luang. Intercourse between Burma and Siam as recorded in Hmannan Yazawindawgyi. Bangkok; July 25, 1919.</ref> อะแซหวุ่นกี้มีหนังสือขึ้นไปกราบทูลว่า ทัพฝ่ายพม่าพ่ายแพ้ที่บางแก้ว สูญเสียรี้พลไปจำนวนมากฝ่ายจับเป็นเชลยไปได้พันเศษคน ฝ่ายไทยยังมีกำลังเนื่องด้วยหัวเมืองฝ่ายเหนือยัง "บริบูรณ์"<ref name=":1">พระราชพงษาวดารกรุงเก่า (ฉบับหมอบรัดเล).</ref> มั่งคั่งไปด้วยผู้คนและทรัพยากร จึงขอพระราชทานยกทัพไปตีหัวเมืองเหนือให้ได้เสียก่อน ฝ่ายสยามจึงจะอ่อนกำลังลง พระเจ้ามังระทรงเห็นชอบด้วย มีพระราชโองการให้อะแซหวุ่นกี้ยกทัพเข้าโจมตีหัวเมืองเหนือให้ราบคาบยับเยินให้จงได้ พระเจ้ามังระประทับเมืองย่างกุ้งอยู๋สามเดือน หลังจากสมโภชเฉลิมฉลองพระมหาเจดีย์เกตุธาตุแล้ว จึงเสด็จกลับเมืองอังวะ
 
อะแซหวุ่นกี้จัดทัพ ให้แมงแยยางูผู้เป็นน้องชายของตน กับกละโบ่ ปันญีแยข่องจอ<ref name=":2">Phraison Salarak (Thien Subindu), Luang. Intercourse between Burma and Siam as recorded in Hmannan Yazawindawgyi. Bangkok; July 25, 1919.</ref> (Pyanchi Yegaung Kyaw) และปันญีตจวง เป็นทัพหน้า ยกกำลังพม่า 20,000 คน ตัวอะแซหวุ่นกี้เป็น''โบชุก''หรือแม่ทัพ กับตะแคงมระหน่อง และเจ้าเมืองตองอู ยกทัพหลวงจำนวน 15,000 คน ออกจากเมืองเมาะตะมะในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2318 ผ่านด่านแม่ละเมาเข้าเมืองตาก
เส้น 70 ⟶ 62:
เดือนตุลาคม พ.ศ. 2318 ทัพพม่ายกเข้ามาทางด่านแม่ละเมา กรมการเมืองตากและพระยาสุรบดินทร์เจ้าเมือง[[จังหวัดกำแพงเพชร|กำแพงเพชร]] เห็นว่าทัพฝ่ายพม่ามีจำนวนมหาศาลไม่อาจต่อกรได้ จึงละทิ้งเมืองอพยพพาผู้คนหลบหนีเข้าป่า<ref name=":1" /> และมีหนังสือบอกความถึงเจ้าพระยาจักรีและเจ้าพระยาสุรสีห์ที่เชียงใหม่ และถวายหนังสือใบบอกลงมายังกรุงธนบุรี
 
โปสุพลาและโปมะยุง่วนยกทัพจากเชียงแสนมาเข้าประชิดเตรียมจะเข้าตีเมืองเชียงใหม่ แต่รวบรวมกำลังพลไม่ไม่มากเท่าใดนัก<ref name=":3">[[กรมพระยาดำรงราชานุภาพ|ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จกรมพระยา]]. พงษาวดารเรื่องเรารบพม่า ครั้งกรุงธน ฯ แลกรุงเทพ ฯ.</ref> เมื่อเจ้าพระยาจักรีและเจ้าพระยาสุรสีห์ยกทัพถึงเมืองเชียงใหม่แล้ว ฝ่ายพม่าจึงถอยออกจากเชียงใหม่กลับไปเชียงแสน เจ้าพระยาทั้งสองยกทัพติดตามพม่าไปที่เชียงแสน ในขณะนั้นหนังสือไปถึงเจ้าพระยาทั้งสอง แจ้งความว่าพม่ายกมาทางด่านแม่ละเมาจำนวนมาก เจ้าพระยาจักรีและเจ้าพระยาสุรสีห์จึงรีบรุดยกทัพกลับมาสุโขทัย ตั้งทัพอยู่ที่วัดปากน้ำที่กลางทางใต้เมืองสุโขทัย อะแซหวุ่นกี้ยกทัพจากเมืองตากมาทาง[[อำเภอบ้านด่านลานหอย|บ้านด่านลานหอย]]<ref name=":3">[[กรมพระยาดำรงราชานุภาพ|ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จกรมพระยา]]. พงษาวดารเรื่องเรารบพม่า ครั้งกรุงธน ฯ แลกรุงเทพ ฯ.</ref> ตรงมาถึงเมืองสุโขทัยและเมืองสวรรคโลก จับกรมการมาถามว่า "''พระยาเสือเจ้าเมืองพระพิศณุโลกอยู่หรือไม่''"<ref name=":1" /> กรมการตอบว่าไม่อยู่ไปเมืองเชียงใหม่ อะแซหวุ่นกี้จึงว่า "''เจ้าของเขาไม่อยู่ อย่าเพ่อไปเหยียบเมืองพระพิศณุโลกก่อนเลย''"<ref name=":1" /> อะแซหวุ่นกี้ให้กองหน้าของทัพพม่ามาตั้งอยู่ที่[[อำเภอกงไกรลาศ|กงธานี]]ริม[[แม่น้ำยม]]ใหม่<ref name=":3">[[กรมพระยาดำรงราชานุภาพ|ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จกรมพระยา]]. พงษาวดารเรื่องเรารบพม่า ครั้งกรุงธน ฯ แลกรุงเทพ ฯ.</ref> ส่วนอะแซหวุ่นกี้ตั้งรอที่สุโขทัย เพื่อรวบรวมเสบียงอาหารสำหรับทัพพม่า เนื่องด้วยสุโขทัยเป็นทำเลที่นามีข้าวปลาอาหารบริบูรณ์มากกว่าที่อื่น<ref name=":3">[[กรมพระยาดำรงราชานุภาพ|ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จกรมพระยา]]. พงษาวดารเรื่องเรารบพม่า ครั้งกรุงธน ฯ แลกรุงเทพ ฯ.</ref>
 
เจ้าพระยาสุรสีห์ปรึกษากับเจ้าพระยาจักรีว่า จะยกทัพไปตีพม่าที่กงธานี เจ้าพระยาจักรีเห็นว่าเนื่องจากฝ่ายไทยมีกำลังน้อยกว่าพม่า<ref name=":3">[[กรมพระยาดำรงราชานุภาพ|ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จกรมพระยา]]. พงษาวดารเรื่องเรารบพม่า ครั้งกรุงธน ฯ แลกรุงเทพ ฯ.</ref>จึงควรกลับไปจัดแจงบ้านเมืองเตรียมการรับมือข้าศึกพม่าที่พิษณุโลก<ref name=":1" /> เมืองพิษณุโลกตั้งอยู่ที่แม่น้ำน่านซึ่งเป็นแม่น้ำใหญ่ ทัพหลวงจากธนบุรีจะสามารถยกมาช่วยได้โดยสะดวก<ref name=":3">[[กรมพระยาดำรงราชานุภาพ|ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จกรมพระยา]]. พงษาวดารเรื่องเรารบพม่า ครั้งกรุงธน ฯ แลกรุงเทพ ฯ.</ref> เจ้าพระยาจักรีให้กวาดผู้คนเข้าเมืองพิษณุโลก เตรียมการป้องกันเมือง และมีคำสั่งให้พระยาสุโขทัย พระยาอักษรวงศ์ผู้รั้งเมืองสวรรคโลก และพระยาพิไชยสงคราม ยกทัพไปรับพม่าที่กงธานี ส่วนเจ้าพระยาสุรสีห์นั้นยกทัพไปตั้งค่ายที่บ้านไกลไกรป่าแฝก (ตำบลป่าแฝก อำเภอกงไกรลาศ) พม่ายกทัพมาล้อมเจ้าพระยาสุรสีห์ที่บ้านป่าแฝกอย่างรวดเร็ว เปิดแต่เพียงช่องทางลงแม่น้ำยม เจ้าพระยาสุรสีห์ตั้งค่ายอยู่ได้สามวัน เห็นว่าทัพพม่ามีกำลังมากเกินกว่าจะรบได้ จึงถอยทัพออกมาทางช่องที่เปิดไว้ไปตั้งรับเมืองพิษณุโลก<ref name=":1" /> ทัพกองหน้าพม่าสามารถเอาชนะทัพไทยของพระยาสุโขทัยและพระยาอักษรวงศ์ได้ ใน'''การรบที่กงธานี''' พม่ายกเข้าตีได้[[อำเภอสวรรคโลก|เมืองสวรรคโลก]] เมือง[[จังหวัดสุโขทัย|สุโขทัย]] แล้วจัดทัพแยกไปตี[[อำเภอพิชัย|เมืองพิชัย]]
 
อะแซหวุ่นกี้ให้ปันญีตจวงนำกำลังพม่า 5,000 คน รักษาการไว้ที่กงธานีเป็นทัพหลัง แล้วทัพหลวงของอะแซหวุ่นกี้จำนวน 30,000 คน<ref name=":3">[[กรมพระยาดำรงราชานุภาพ|ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จกรมพระยา]]. พงษาวดารเรื่องเรารบพม่า ครั้งกรุงธน ฯ แลกรุงเทพ ฯ.</ref> ยกมาประชิดเข้าล้อมเมืองพิษณุโลกในเดือนอ้าย (ธันวาคม) พ.ศ. 2318 ตั้งค่ายอยู่ล้อมห่างเมืองพิษณุโลกทั้งสองฟาก นำไปสู่'''การล้อมเมืองพิษณุโลก''' เจ้าพระยาทั้งสองนำเกณฑ์พลขึ้นประจำรักษาหน้าเชิงเทิน ให้ทำสะพานเรือกข้ามแม่น้ำกลางเมืองสามแห่ง กองกำลังฝ่ายไทยในเมืองพิษณุโลกมีจำนวนไม่เกิน 10,000 คน<ref name=":3">[[กรมพระยาดำรงราชานุภาพ|ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จกรมพระยา]]. พงษาวดารเรื่องเรารบพม่า ครั้งกรุงธน ฯ แลกรุงเทพ ฯ.</ref> ฝ่ายอะแซหวุ่นกี้มี[[ปืนคาบศิลา|ปืนนกสับ]] (Flintlock musket) แห่หน้า 3,000 คน ทหารถือทวนตามหลังอีก 1,000 คน อะแซหวุ่นกี้ขี่ม้ากั้นร่มมีระย้า ออกเลียบหน้าค่ายตรวจชัยภูมิ เจ้าพระยาสุรสีห์ยกทัพออกโจมตีทัพพม่าถึงตะลุมบอน แต่ไม่สำเร็จถอยกลับเข้าเมือง วันรุ่งขึ้นเจ้าพระยาสุรสีห์ยกทัพออกไปตีพม่าอีกครั้งแต่ไม่สำเร็จ วันที่สามเจ้าพระยาจักรีจึงนำทัพออกไปโจมตีพม่าด้วยตนเอง ฝ่ายไทยยกทัพออกไปตีพม่า เก้าวันสิบวันยังไม่สำเร็จ<ref name=":1" />
 
=== ทัพหลวงตั้งที่ปากพิง ===
เจ้าพระยาจักรีและเจ้าพระยาสุรสีห์บอกความลงมากราบทูลฯ ณ กรุงธนบุรีว่า ทัพพม่ายกมาล้อมเมืองพิษณุโลกไว้ตั้งแต่เดือนมกราคม พ.ศ. 2319 สมเด็จพระเจ้าตากสินตรัสถามแม่ทัพพม่าในคุก ฉับกุงโบงุยอคงหวุ่นและอุตตมสิงหจอจัว ว่าบัดนี้พม่ายกมาทำสงคราม จะให้ไปสู้กับพม่าพวกเดียวกันเองได้หรือไม่ งุยอคงหวุ่นและอุตตมสิงหจอจัว และบรรดานายทัพพม่าเชลยจากสงครามบางแก้ว ให้การตอบว่า หากให้ไปรบกับชาติอื่นจะขอทำสงครามจนสิ้นชีวีต แต่หากให้ไปรบกับพม่าด้วยกันเองแล้ว ทำไม่ได้ มีความละอายแก่ใจเข้าหน้าพวกเดียวกันไม่ติด สมเด็จพระเจ้าตากสินจึงมีพระราชดำริ ว่าแม่ทัพพม่าเชลยเหล่านี้ ไม่มีความภักดีที่แท้จริง หากยกกำลังเมืองพระนครธนบุรีไปรบกับพม่าทางเหนือ เหลือกำลังรักษาเมืองอยู่น้อย บรรดานายทัพพม่าเชลยอาจก่อกบฏขึ้นได้ จึงมีพระราชโองการให้ลงพระราชอาญาประหารชีวิตงุยอคงหวุ่นและอุตตมสิงหจอจัว บรรดาแม่ทัพพม่าเชลย รวมทั้งพรรคพวกของเจ้าพระฝางที่ยังเหลืออยู่ในคุก เอาไปประหารเสียที่วัดทองคลองบางกอกน้อยทั้งสิ้น<ref name=":1" />
 
สมเด็จพระเจ้าตากสินมีพระราชโองการ ให้พระเจ้าหลานเธอ กรมขุนอนุรักษ์สงคราม ยกทัพออกไปรักษาอยู่เมือง[[จังหวัดเพชรบุรี|เพชรบุรี]] ป้องกันรับทัพพม่าที่อาจมาทาง[[ด่านสิงขร]] (ในครั้งนั้นเมืองเพชรบุรีมีกำลังพลไม่เพียงพอต่อการป้องกันเมือง กรมขุนอนุรักษ์สงครามให้รื้อกำแพงเมืองเพชรบุรีเดิมลง และให้สร้างกำแพงเมืองใหม่ที่หัวมุมด้านตะวันตกเฉียงเหนือ รักษาเพียงส่วนเสี้ยวเดียวของเมือง)<ref name=":3">[[กรมพระยาดำรงราชานุภาพ|ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จกรมพระยา]]. พงษาวดารเรื่องเรารบพม่า ครั้งกรุงธน ฯ แลกรุงเทพ ฯ.</ref> และทรงให้เกณฑ์ทัพทางบกทางเรือ พร้อมด้วยช้างม้าสรรพาวุธ กำลังพลชาวไทยและชาวจีน เป็นจำนวนทั้งสิ้น 12,270 คน<ref name=":1" /> ในเดือนยี่ (มกราคม) แรมสิบเอ็ดค่ำ เสด็จเรือพระที่นั่งกราบยาว ยกพยุหยาตรานาวาทัพหลวง พร้อมด้วยข้าทูลละอองฯทั้งปวง เสด็จจากกรุงธนบุรีไปทางชลมารค หยุดประทับที่พลับพลาหน้าฉนวนน้ำพระราชวังหลวงกรุงเก่า หมื่นศักดิ์บริบาลไปสืบราชการกลับมากราบทูลว่า ทัพพระยาสุโขทัยและพระยาอักษรวงศ์ที่กงธานีพ่ายถอยลงมาแล้ว จึงเสด็จลงเรือพระที่นั่งให้เร่งรีบยกทัพขึ้นไป
 
สมเด็จพระเจ้าตากสินทรงให้พระยาราชาเศรษฐีจีน (ตั้งเลี้ยง หรือ เฉินเหลียน) คุมกองทัพชาวจีนจำนวน 3,000 คน ตั้งประจำการอยู่ที่เมือง[[จังหวัดนครสวรรค์|นครสวรรค์]] เพื่อป้องกันเส้นทางลำเลียงเสบียงและคอยระวังทัพพม่าที่อาจมาทาง[[แม่น้ำปิง]]<ref name=":3">[[กรมพระยาดำรงราชานุภาพ|ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จกรมพระยา]]. พงษาวดารเรื่องเรารบพม่า ครั้งกรุงธน ฯ แลกรุงเทพ ฯ.</ref> ในเดือนสาม (กุมภาพันธ์) สมเด็จพระเจ้าตากสินทรงยกทัพหลวงยกถึงปากพิงฝั่งตะวันออก ปากพิงอยู่ทางทิศใต้ของเมืองพิษณุโลกเป็นระยะทางหนึ่งวัน ซึ่งเป็นจุดปากคลองลัดที่เชื่อมต่อระหว่างแม่น้ำน่านและแม่น้ำยม<ref name=":3">[[กรมพระยาดำรงราชานุภาพ|ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จกรมพระยา]]. พงษาวดารเรื่องเรารบพม่า ครั้งกรุงธน ฯ แลกรุงเทพ ฯ.</ref> สมเด็จพระเจ้าตากสินมีพระราชโองการ ให้ตั้งค่ายแนวเรียงยาวจากปากพิง เลียบฝั่งตะวันออกของ[[แม่น้ำน่าน]] ไปจนถึงพม่าที่ล้อมเมืองพิษณุโลกอยู่ ดังนี้<ref name=":1" />
 
* ทัพหลวง ประทับอยู่ที่ ปากพิงฝั่งตะวันออก
เส้น 90 ⟶ 82:
* [[เจ้าพระยานครสวรรค์]] ตั้งค่ายที่วัดจันทร์ โอบค่ายพม่าขึ้นไปจนถึงเมืองพิษณุโลก
 
ทุกค่ายชักปีกกาถึงกัน ลาดตระเวนถึงกันหมด มีกองเกณฑ์หัดปืนใหญ่ เป็นกองกลางสำหรับยกไปช่วยค่ายต่างๆ<ref name=":3">[[กรมพระยาดำรงราชานุภาพ|ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จกรมพระยา]]. พงษาวดารเรื่องเรารบพม่า ครั้งกรุงธน ฯ แลกรุงเทพ ฯ.</ref> ให้พระศรีไกรลาศ คุมไพร่ทำทางหลวง จากปากพิงไปจนถึงเมืองพิษณุโลก ในขณะที่ฝ่ายพม่าตั้งค่ายอยู่ฝั่งตะวันตกของแม่น้ำน่าน กองกำลังโดยรวมของฝ่ายพม่ามีมากกว่าฝ่ายไทย ทัพฝ่ายพม่าของอะแซหวุ่นกี้มีทั้งสิ้น 30,000 คน ในขณะที่ฝ่ายไทยมีกำลังประมาณ 20,000 คน<ref name=":3">[[กรมพระยาดำรงราชานุภาพ|ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จกรมพระยา]]. พงษาวดารเรื่องเรารบพม่า ครั้งกรุงธน ฯ แลกรุงเทพ ฯ.</ref> แต่ฝ่ายไทยมีปืนใหญ่มากกว่า
ทุกค่ายชักปีกกาถึงกัน ตระเวนถึงกันหมด ให้พระศรีไกรลาศ คุมไพร่ทำทางหลวง จากปากพิงไปจนถึงเมืองพิษณุโลก ในขณะที่ฝ่ายพม่าตั้งค่ายอยู่ฝั่งตะวันตกของแม่น้ำน่าน ในคืนวันนั้น พม่าจากฝั่งตะวันตกยกข้ามแม่น้ำน่านเข้าโจมตีค่ายของพระราชภักดีที่บ้านกระดาษ แล้วยกเลยไปตีค่ายเจ้าพระยาอินทรอภัยที่บ้านท่าโรง ไปจนถึงค่ายของพระยาราชสุภาวดีที่บ้านบางทราย แล้วเลิกถอยกลับไป จึงมีพระราชโองการให้พระยาวิจิตรนาวี หลวงดำเกิงรณภพ คุมปืนใหญ่รางเกวียน 34 กระบอก ลากขึ้นไปค่ายบางทรายไว้เตรียมรับทัพพม่า ฝ่ายพม่ายกมาประชิดค่ายของจมื่นเสมอใจราชที่วัดจุฬามณีอีก สมเด็จพระเจ้าตากสินจึงมีพระราชโองการให้พระยาธรรมไตรโลก พระยารัตนาพิมล และพระชลบุรี คอยคุมรักษาค่ายหลวงอยู่ที่ปากพิง แล้วเสด็จยกทัพหลวงขึ้นไปตั้งที่บางทรายฝั่งตะวันออก พม่ายกเข้าตีค่ายบ้านท่าโรงของเจ้าพระยาอินทรอภัยอีกครั้ง ทรงให้หลวงดำเกิงรณภพยกกองเกณฑ์หัด 200 คน ลงเรือไปช่วงเจ้าพระยาอินทรอภัย ต้านพม่าถอยกลับไป วันรุ่งขึ้นเสด็จเรือพระที่นั่งทอดพระเนตรค่ายพระโหราธิบดีที่ฝั่งตะวันตก เห็นพระโหราธิบดีตั้งค่ายริมแม่น้ำเอาต้นไม้ใหญ่ไว้นอกค่าย ข้าศึกอาจปีนต้นไม้ยิงปืนเข้ามาในค่ายได้ มีพระราชโองการให้พระโหราธิบดีตั้งค่ายใหม่โอบล้อมต้นไม้ไว้<ref name=":1" /> พระยารามัญวงศ์ (มะโดด) นำกองมอญเข้าโจมตีพม่าทางด้านตะวันออกเฉียงเหนือของพิษณุโลก สามารถตั้งค่ายได้
 
ทุกค่ายชักปีกกาถึงกัน ตระเวนถึงกันหมด ให้พระศรีไกรลาศ คุมไพร่ทำทางหลวง จากปากพิงไปจนถึงเมืองพิษณุโลก ในขณะที่ฝ่ายพม่าตั้งค่ายอยู่ฝั่งตะวันตกของแม่น้ำน่าน ในคืนวันนั้น พม่าจากฝั่งตะวันตกยกข้ามแม่น้ำน่านเข้าโจมตีค่ายของพระราชภักดีที่บ้านกระดาษ แล้วยกเลยไปตีค่ายเจ้าพระยาอินทรอภัยที่บ้านท่าโรง ไปจนถึงค่ายของพระยาราชสุภาวดีที่บ้านบางทราย แล้วเลิกถอยกลับไป จึงมีพระราชโองการให้พระยาวิจิตรนาวี หลวงดำเกิงรณภพ คุมปืนใหญ่รางเกวียน 34 กระบอก ลากขึ้นไปค่ายบางทรายไว้เตรียมรับทัพพม่า ฝ่ายพม่ายกมาประชิดค่ายของจมื่นเสมอใจราชที่วัดจุฬามณีอีก สมเด็จพระเจ้าตากสินจึงมีพระราชโองการให้พระยาธรรมไตรโลก พระยารัตนาพิมล และพระชลบุรี คอยคุมรักษาค่ายหลวงอยู่ที่ปากพิง แล้วเสด็จยกทัพหลวงขึ้นไปตั้งที่บางทรายฝั่งตะวันออก พม่ายกเข้าตีค่ายบ้านท่าโรงของเจ้าพระยาอินทรอภัยอีกครั้ง ทรงให้หลวงดำเกิงรณภพยกกองเกณฑ์หัด 200 คน ลงเรือไปช่วงเจ้าพระยาอินทรอภัย ต้านพม่าถอยกลับไป วันรุ่งขึ้นเสด็จเรือพระที่นั่งทอดพระเนตรค่ายพระโหราธิบดีที่ฝั่งตะวันตก เห็นพระโหราธิบดีตั้งค่ายริมแม่น้ำเอาต้นไม้ใหญ่ไว้นอกค่าย ข้าศึกอาจปีนต้นไม้ยิงปืนเข้ามาในค่ายได้ มีพระราชโองการให้พระโหราธิบดีตั้งค่ายใหม่โอบล้อมต้นไม้ไว้<ref name=":1" /> พระยารามัญวงศ์ (มะโดด) นำกองมอญเข้าโจมตีพม่าทางด้านตะวันออกเฉียงเหนือของพิษณุโลก สามารถตั้งค่ายได้
เจ้าพระยานครสวรรค์ ตั้งค่ายที่วัดจันทร์โอบชิดพม่าที่ล้อมเมืองพิษณุโลก พยายามที่จะเจาะทลายแนวทัพพม่าออกจากพิษณุโลกให้ได้ เจ้าพระยาจักรีและเจ้าพระยาสุรสีห์ ยกทัพออกจากเมืองพิษณุโลก มาตั้งค่ายประชิดพม่าที่นอกเมืองฝั่งตะวันออก ฝ่ายพม่ายกเข้ายึดค่ายได้ เจ้าพระยาสุรสีห์ชิงค่ายคืนได้อีก ทั้งฝ่ายพม่าและไทยขุดอุโมงค์เข้ารบกันในอุโมงค์ล้มตายจำนวนมาก สมเด็จพระเจ้าตากสินพระราชทานปืนใหญ่รางเกวียน 20 กระบอก ให้ลากขึ้นไปประชิดพม่าที่พิษณุโลก เจ้าพระยานครสวรรค์ จับเชลยพม่าสองคนให้การว่า ทัพพม่าขัดสนกำลังเสบียงอาจต้องถอยกลับ สมเด็จพระเจ้าตากสินเสด็จค่ายวัดจันทร์ มีพระราชโองการให้กองพระยายมราช (หมัด) พระยานครราชสีมา (ขุนชนะ) และพระยาพิไชยสงคราม เข้าช่วยเจ้าพระยานครสวรรค์ เดือนสามแรมสองค่ำเวลากลางคืน ฝ่ายไทยที่วัดจันทร์ยิงปืนใหญ่เข้าโจมตีทลายค่ายพม่า เพื่อที่จะเจาะเข้าหาช่วยเมืองพิษณุโลกให้ได้ แต่สู้รบกันจนรุ่งเช้าไม่สำเร็จ ไม่สามารถหักเอาค่ายพม่าได้จึงถอยออกมา<ref name=":1" />
 
เจ้าพระยานครสวรรค์พระยารามัญวงศ์ ตั้งค่ายที่วัดจันทร์โอบชิดพม่าที่ล้อมเมืองพิษณุโลก(มะโดด) พยายามที่จะเจาะทลายแนวทัพนำกองมอญเข้าโจมตีพม่าทางด้านตะวันออกจากของพิษณุโลกให้ สามารถตั้งค่ายได้ เจ้าพระยาจักรีและเจ้าพระยาสุรสีห์ ยกทัพออกจากเมืองพิษณุโลก มาตั้งค่ายประชิดพม่าที่นอกเมืองฝั่งตะวันออกเช่นกันประสานกันกับพระยารามัญวงศ์<ref name=":3">[[กรมพระยาดำรงราชานุภาพ|ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จกรมพระยา]]. พงษาวดารเรื่องเรารบพม่า ครั้งกรุงธน ฯ แลกรุงเทพ ฯ.</ref> ฝ่ายพม่ายกเข้ายึดค่ายได้ เจ้าพระยาสุรสีห์ชิงค่ายคืนได้อีก ทั้งฝ่ายพม่าและไทยขุดอุโมงค์เข้ารบกันในอุโมงค์ล้มตายจำนวนมาก สมเด็จพระเจ้าตากสินพระราชทานปืนใหญ่รางเกวียน 20 กระบอก ให้ลากขึ้นไปประชิดพม่าที่พิษณุโลก เจ้าพระยานครสวรรค์ ตั้งค่ายที่วัดจันทร์โอบชิดพม่าที่ล้อมเมืองพิษณุโลก พยายามที่จะเจาะทลายแนวทัพพม่าออกจากพิษณุโลกให้ได้ เจ้าพระยานครสวรรค์จับเชลยพม่าสองคนให้การว่า ทัพพม่าขัดสนกำลังเสบียงอาจต้องถอยกลับ สมเด็จพระเจ้าตากสินเสด็จค่ายวัดจันทร์ มีพระราชโองการให้กองพระยายมราช (หมัด) พระยานครราชสีมา (ขุนชนะ) และพระยาพิไชยสงคราม เข้าช่วยเจ้าพระยานครสวรรค์ เดือนสามแรมสองค่ำเวลากลางคืน บอกสัญญาณให้ฝ่ายไทยที่วัดจันทร์ และฝ่ายไทยทางด้านตะวันออก ระดมเข้าตีค่ายพม่าพร้อมกัน<ref name=":3">[[กรมพระยาดำรงราชานุภาพ|ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จกรมพระยา]]. พงษาวดารเรื่องเรารบพม่า ครั้งกรุงธน ฯ แลกรุงเทพ ฯ.</ref> ยิงปืนใหญ่เข้าโจมตีทลายค่ายพม่า เพื่อที่จะเจาะเข้าหาช่วยเมืองพิษณุโลกให้ได้ แต่สู้รบกันจนรุ่งเช้าไม่สำเร็จ ไม่สามารถหักเอาค่ายพม่าได้จึงถอยออกมา<ref name=":1" />
สมเด็จพระเจ้าตากสินเสด็จจากค่ายวัดจันทร์มาประทับที่บางทราย มีพระราชดำริแบ่งทัพยกไปทางฝั่งตะวันตกของแม่น้ำน่าน ล้อมโอบหลังพม่าอีกทางหนึ่ง มีพระราชโองการให้เจ้าพระยามหามณเฑียรเป็นแม่ทัพ ยกทัพ 5,000 คน<ref name=":1" /> ให้เจ้าพระยานครสวรรค์เป็นทัพหน้า ให้หลวงดำเกิงรณภพคุมทหารกองในกองนอกและกองเกณฑ์หัด ทั้งสิ้น 3,400 คน ยกไปทางฝั่งตะวันตกของแม่น้ำน่าน โอบหลังพม่าที่วัดจันทร์ฝั่งตะวันตก และทรงให้พระยาราชภักดี ไปนำปืนพระยาราชปักษี และปืนฉัตรไชย จากกรุงธนบุรีมา
 
สมเด็จพระเจ้าตากสินเมื่อทรงตีค่ายพม่าไม่ได้ตามพระราชประสงค์<ref name=":3">[[กรมพระยาดำรงราชานุภาพ|ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จกรมพระยา]]. พงษาวดารเรื่องเรารบพม่า ครั้งกรุงธน ฯ แลกรุงเทพ ฯ.</ref> จึงเสด็จจากค่ายวัดจันทร์มาประทับที่บางทราย มีพระราชดำริแบ่งทัพยกไปทางฝั่งตะวันตกของแม่น้ำน่าน ล้อมโอบหลังพม่าอีกทางหนึ่ง มีพระราชโองการให้เจ้าพระยามหามณเฑียรเป็นแม่ทัพ ยกทัพ 5,000 คน<ref name=":1" /> ให้เจ้าพระยานครสวรรค์ถอยทัพจากค่ายวัดจันทร์ลงมาเป็นทัพหน้า ให้เรียกกองของพระโหราธิบดีและกองมอญของพระยากลางเมืองลงมาสมทบเข้ารวมกัน ให้หลวงดำเกิงรณภพคุมทหารกองในกองนอกและกองเกณฑ์หัด ทั้งสิ้น 3,400 คน ยกไปทางฝั่งตะวันตกของแม่น้ำน่าน โอบหลังพม่าที่วัดจันทร์ฝั่งตะวันตก และทรงให้พระยาราชภักดี ไปนำปืนพระยาราชปักษี และปืนฉัตรไชย จากกรุงธนบุรีมา
 
=== พม่าตีวกหลังตัดเสบียง ===
บรรดาแม่ทัพนายกองพม่า แจ้งแก่อะแซหวุ่นกี้ว่า ฝ่ายไทยป้องกันเมืองพิษณุโลกเข็มแข็ง ไม่อาจเอาชนะได้โดยง่าย<ref name=":1" /> อีกทั้งสมเด็จพระเจ้าตากสินยังเสด็จยกทัพหลวงพร้อมรี้พลจำนวนมาก สงครามครั้งนี้มีโอกาสยืดเยื้อยาวนาน อะแซหวุ่นกี้ตระหนักว่าทัพหลวงจากธนบุรีมีกำลังยกมามากกว่าที่คาดไว้ หากจะผันกองกำลังจากที่ล้อมเมืองพิษณุโลกมาตีทัพหลวงที่แม่น้ำน่าน เกรงว่าเจ้าพระยาทั้งสองจะสามารถฝ่าวงล้อมออกมาได้<ref name=":3">[[กรมพระยาดำรงราชานุภาพ|ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จกรมพระยา]]. พงษาวดารเรื่องเรารบพม่า ครั้งกรุงธน ฯ แลกรุงเทพ ฯ.</ref> อะแซหวุ่นกี้จึงหันไปใช้ยุทธวิถีโจมตีวกหลังตัดเสบียง ใช้ม้าเร็วไปแจ้งแก่ปันญีตจวง ทัพหลังซึ่งตั้งอยู่ที่กงธานี ให้คุมกำลังพม่า 3,000 คน<ref name=":1" /> ยกทัพลงไปทางเมืองกำแพงเพชร เมืองนครสวรรค์ แซงลงไปจนถึงเมือง[[จังหวัดอุทัยธานี|อุทัยธานี]] วกหลังตัดเสบียงฝ่ายไทย ทำให้ฝ่ายไทยต้องเผชิญศึกสองด้าน ทั้งทางพิษณุโลกและทางอุทัยธานี ส่วนกำลังอีก 2,000 คนที่เหลือ ให้มารวมกับทัพของอะแซหวุ่นกี้ที่พิษณุโลก
 
เดือนสามแรมหกค่ำ พระยาสุโขทัยซึ่งซุ่มคอยสังเกตการณ์ทัพพม่าที่กงธานี เห็นพม่าที่กงธานียกทัพออกไป ข้ามแม่น้ำไปฝั่งตะวันตกส่วนหนึ่ง และยกมาที่พิษณุโลกส่วนหนึ่ง พระยาสุโขทัยนำความมากราบทูลฯ สมเด็จพระเจ้าตากสินเมื่อทรงทราบความ ก็ทรงตระหนักได้ว่าฝ่ายพม่ากำลังจะตีวกหลังตัดเสบียง จึงมีพระราชโองการให้พระยาราชภักดี และพระยาพิพัฒโกษา ยกทัพจากบ้านกระดาษลงไปช่วยพระยาราชาเศรษฐีจีน (ตั้งเลี้ยง) ป้องกันเมืองนครสวรรค์ ให้กองของ[[เจ้าพระยาศรีธรรมาธิราช (บุญรอด บุณยรัตพันธุ์)|พระยาธรรมา (บุญรอด)]] ยกหนุนไปช่วยเจ้าพระยามหามณเฑียรและเจ้าพระยานครสวรรค์ ซึ่งไปตั้งค่ายโอบหลังพม่าอยู๋ที่วัดจันทร์ฝั่งตะวันตก และให้หลวงภักดีสงคราม พระยาเจ่ง และกรมการเมืองชัยนาท คุมพลไทยมอญจำนวน 500 คนเศษ ไปตั้งอยู่ร้านดอกไม้เมืองกำแพงเพชร คอยสอดแนมสังเกตการณ์ว่าทัพพม่าที่ยกมาจากกงธานีจะยกมาถึงกำแพงเพชรหรือไม่<ref name=":1" />
 
ฝ่ายเมืองพิษณุโลก เจ้าพระยามหามณเฑียรและเจ้าพระยานครสวรรค์เข้าตีโอบหลังพม่าที่วัดจันทร์ฝั่งตะวันตก เจ้าพระยาจักรีและเจ้าพระยาสุรสีห์ยกทัพออกมาตั้งค่ายนอกเมืองพิษณุโลกทางทิศตะวันตกประชิดฝ่ายพม่าอีกด้านหนึ่ง ประสานกันกับทัพของเจ้าพระยานครสวรรค์ เดือนสามแรมหกค่ำ เจ้าพระยาสุรสีห์ให้ทำคบเพลิงผ้าชุบน้ำมัน ใส่ลงในกระบอกปืนใหญ่ ยิงเข้าเผาทำลายค่ายพม่า สามารถทำลายหอรบลงได้สองหอ แต่ไม่สามารถฝ่าวงล้อมพม่าออกมาได้ เนื่องจากทัพของเจ้าพระยามหามณเฑียรและเจ้าพระยานครสวรรค์ ไปพบกับทัพ 2,000 คนที่ยกมาจากกงธานี มาสู้รบกันที่บ้านบางส้มป่อย จึงไม่ได้ยกมาประชิดค่ายพม่าที่พิษณุโลกตามนัดหมาย<ref name=":3">[[กรมพระยาดำรงราชานุภาพ|ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จกรมพระยา]]. พงษาวดารเรื่องเรารบพม่า ครั้งกรุงธน ฯ แลกรุงเทพ ฯ.</ref> เจ้าพระยานครสวรรค์เอาชนะทัพพม่าถอยกลับไป ในเมืองพิษณุโลกเริ่มขาดแคลนเสบียง เจ้าพระยาสุรสีห์จึงขอพระราชทานเสบียงจากทัพหลวง สมเด็จพระเจ้าตากสินพระราชทานเสบียงให้กองกำลังคุมลำเลียงขึ้นไป แต่ถูกฝ่ายพม่าตีตัดกลางทางไปไม่ถึง สมเด็จพระเจ้าตากสินจึงทรงให้พระยานครราชสีมาคุ้มครองเสบียงขึ้นไป แล้วให้เจ้าพระยาสุรสีห์นำกำลังลงมารับเสบียง แต่กละโบ่แม่ทัพพม่ายกมาสกัดตีเสียก่อน เจ้าพระยาสุรสีห์และพระยานครราชสีมาไม่สามารถส่งเสบียงถึงกันได้ เสบียงอาหารในเมืองพิษณุโลกลดน้อยลงทุกวัน ไม่เพียงพอแจกจ่ายแก่กำลังพล ฝ่ายพม่าก็ขัดสนเสบียงอาหารเช่นกันเนื่องจากเสบียงจากเชียงแสนของโปมะยุง่วนไม่สามารถลงมาส่งได้<ref name=":3">[[กรมพระยาดำรงราชานุภาพ|ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จกรมพระยา]]. พงษาวดารเรื่องเรารบพม่า ครั้งกรุงธน ฯ แลกรุงเทพ ฯ.</ref> แต่ฝ่ายพม่าอยู่ในที่แจ้ง สามารถค้นหาอาหารขุดรากมันประทังไปได้ ไม่ขัดสนเหมือนในเมืองพิษณุโลก<ref name=":1" /><ref name=":3">[[กรมพระยาดำรงราชานุภาพ|ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จกรมพระยา]]. พงษาวดารเรื่องเรารบพม่า ครั้งกรุงธน ฯ แลกรุงเทพ ฯ.</ref>
 
หลวงภักดีสงครามและพระยาเจ่ง ซึ่งยกทัพไปทางกำแพงเพชรนั้น พบกับทัพพม่าที่กำแพงเพชร โจมตีทัพพม่าโดยไม่ทันรู้ตัวใน'''การรบกำแพงเพชร''' ทัพไทยมอญเก็บศาสตราวุธพม่ามาถวายฯ ฝ่ายพม่าแม้พ่ายแพ่แต่ยังสามารถยกทัพเข้าโจมตีเผาเมืองอุทัยธานีได้สำเร็จ พม่าตั้งค่ายที่กำแพงแพชร ที่บ้านโนนศาลาสองค่าย ที่[[ตำบลสลกบาตร|บ้านสลกบาตร]]หนึ่งค่าย ที่บ้านหลวงหนึ่งค่าย เดือนสามแรมสิบสี่ค่ำ ขุนยกกระบัตรเมืองชัยนาท สืบราชการทัพพม่ามากราบทูลว่า ทัพพม่าเผาเมืองอุทัยธานีเสียแล้วและตั้งค่ายอยู่ที่กำแพงเพชร สมเด็จพระเจ้าตากสินจึงมีพระราชโองการ ให้หม่อมเชษฐกุมารเป็นกองหลวง ให้หม่อมอนุรุทธเทวาเป็นจางวาง ให้ขุนอินทรเดชเป็นแม่กอง ให้หลวงปลัดเมืองอุทัยธานีและ[[เจ้าพระยาพระคลัง (หน)|หลวงสรวิชิต (หน)]] เป็นกองหน้า ยกกำลัง 1,000 คนไปคอยป้องกันปืนใหญ่ที่ลำเลียงมาจากกรุงธนบุรีอย่าให้เป็นอันตราย และคอยป้องกันเมืองนครสวรรค์ และทรงให้พระยานครไชยศรีตั้งที่[[อำเภอโพธิ์ประทับช้าง|โพธิ์ประทับทับช้าง]] และพระโหราธิบดีตั้งที่โคกสลุด คอยป้องกันตามเส้นทางลำเลียง
 
=== พม่าตีเมืองกุยบุรีและปราณบุรี ===
ฝ่ายพม่าจากเมือง[[มะริด]]ยกทัพเข้ามาทางด่านสิงขร เข้าโจมตีและยึดเมือง[[อำเภอกุยบุรี|กุยบุรี]]และ[[อำเภอปราณบุรี|ปราณบุรี]] ฝ่ายกรมการเมืองต้านทานทัพพม่าไม่ได้ จึงถอยมาตั้งที่เมือง[[อำเภอชะอำ|ชะอำ]] กรมขุนอนุรักษ์สงครามแต่งกองกำลังไปขัดตามทัพอยู่ที่ด่านช่องแคบเมืองเพชรบุรี เดือนสามแรมสิบสามค่ำ ขุนพัศดีถือหนังสือขึ้นมาบอกความกราบทูล เรื่องพม่ายกมาตีเมืองกุยบุรีและปราณบุรี สมเด็จพระเจ้าตากสินจึงมีพระราชโองการให้พระเจ้าหลานเธอ เจ้าประทุมไพจิตร ยกกำลังลงมารักษากรุงธนบุรีคอยระวังศึกทางด้านทิศใต้
 
=== พม่าอะแซหวุ่นกี้เข้าตีค่ายปากพิง ===
สมเด็จพระเจ้าตากสินมีพระราชดำริ ว่าการสงครามครั้งนี้กำลังฝ่ายมีน้อยกว่าฝ่ายพม่าเป็นข้อเสียเปรียบสำคัญ หากเน้นรบพุ่งเผชิญหน้าเพียงอย่างเดียวจะไม่ได้ผล ทรงสดับฟังคำให้การของเชลยพม่าว่าฝ่ายพม่าขัดสนเสบียง จึงทรงเปลี่ยนยุทธวิถีด้วยการรักษาแต่เพียงที่มั่นสำคัญ ให้ฝ่ายพม่าหมดเสบียงลงเอง แล้วจึงค่อยยกทัพไปโจมตีพม่าเมื่อหมดเสบียงแล้ว<ref name=":3">[[กรมพระยาดำรงราชานุภาพ|ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จกรมพระยา]]. พงษาวดารเรื่องเรารบพม่า ครั้งกรุงธน ฯ แลกรุงเทพ ฯ.</ref> เดือนสามแรมสิบห้าค่ำ สมเด็จพระเจ้าตากสินมีพระราชโองการให้เจ้าพระยาจักรีและเจ้าพระยาสุรสีห์ มาเข้าเฝ้าที่บ้านท่าโรง เจ้าพระยาจักรีป่วยลงมาไม่ได้<ref name=":1" /> เจ้าพระยาสุรสีห์ลงมาเข้าเฝ้าฯ สมเด็จพระเจ้าตากสินมีพระราชดำรัสปรึกษาด้วยเจ้าพระยาสุรสีห์ ว่าจะทรงผ่อนถอยทัพหลวงลงไปตั้งที่นครสวรรค์ เพื่อป้องกันเสบียงไว้ และราชการป้องกันพม่าที่เมืองพิษณุโลกนั้น ขอให้เจ้าพระยาจักรีและเจ้าพระยาสุรสีห์ จงรับรองรักษาป้องกันไว้<ref name=":1" />ก่อน เจ้าพระยาสุรสีห์ถวายบังคมกลับเมืองพิษณุโลก
 
ฝ่ายพม่ายกออกมารบกับเจ้าพระยานครสวรรค์ที่บ้านบางส้มป่อย เจ้าพระยานครสวรรค์เอาชนะทัพพม่าถอยกลับไป เดือนสี่ขึ้นสามค่ำ สมเด็จพระเจ้าตากสินเสด็จพระราชดำเนินด้วยพระบาท<ref name=":1" /> จากค่ายบ้านท่าโรงจนถึงค่ายเจ้าพระยานครสวรรค์ ประทับเก้าอี้อยู่บนหาดทราย เจ้าพระยานครสวรรค์และพระยาธรรมา ว่ายน้ำ<ref name=":1" />ข้ามแม่น้ำน่านจากฝั่งตะวันตกมาเข้าเฝ้า กราบทูลว่าพม่าตั้งค่ายประชิดเข้าโจมตีหนัก สมเด็จพระเจ้าตากสินรับสั่งว่าอย่ากลัวพม่า<ref name=":1" /> ใครย่อท้อต่อสงครามให้ประหารชีวิตเสีย แล้วเสด็จกลับบ้านท่าโรง เจ้าพระยาจักรีหายป่วย<ref name=":1" />แล้วจึงมาเข้าเฝ้าที่บ้านท่าโรง ในเวลานั้นฝ่ายพม่าขาดแคลนเสบียงลงเช่นกัน อะแซหวุ่นกี้จึงจำต้องระดมกำลังพลเข้าโจมตีฝ่ายไทยให้พ่ายแพ้ไปเสียก่อนที่เสบียงจะหมด<ref name=":3">[[กรมพระยาดำรงราชานุภาพ|ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จกรมพระยา]]. พงษาวดารเรื่องเรารบพม่า ครั้งกรุงธน ฯ แลกรุงเทพ ฯ.</ref> อะแซหวุ่นกี้ยกทัพพม่าเข้าโจมตีค่ายหลวงที่ปากพิง<ref name=":2" /> พระยารัตนาพิมลผู้รักษาค่ายปากพิงบอกมากราบทูล เจ้าพระยาจักรีจึงมอบหมายให้พระยาเทพวรชุนรักษาค่ายบ้านท่าโรง แล้วเจ้าพระยาจักรีกลับไปพิษณุโลก
 
สมเด็จพระเจ้าตากสินเสด็จกลับค่ายปากพิง พม่าขุดสนามเพลาะเข้าตีค่ายพระยาธรรมไตรโลกและพระยารัตนาพิมลที่คลองกระพวง (คลองกรับพวง) ทางฝั่งตะวันตกของแม่น้ำน่าน นำไปสู่'''การรบที่คลองกระพวง''' พระยาสุโขทัยยกเข้าตีขนาบหลังค่ายพม่าที่คลองกระพวง หลวงเสนาภักดิตีวกหลังพม่าเข้าไป พม่าขุดสนามเพลาะล้อมไว้สามด้าน แต่กองอาจารย์ถอยเสียไม่ช่วย<ref name=":1" /> จนพระยาสุโขทัยต้องตีเข้าไปช่วยหลวงเสนาภักดิออกมา สมเด็จพระเจ้าตากสินจึงทรงลงพระราชอาญาประหารชีวิตอาจารย์ทองและนายดี และทรงคาดโทษพระสุธรรมาจารย์ และพระวิสารสุธรรมเจ้ากรมกองอาจารย์ ให้ทำราชการแก้ตัว และมีพระราชโองการให้พระยายมราช (หมัด) ที่ค่ายวัดจันทร์ ย้ายมารับมือพม่าที่คลองกระพวงเสริมขึ้นไป