ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระอาจวิทยาคม (ยอร์ช บี. แมคฟาร์แลนด์)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Waniosa Amedestir (คุย | ส่วนร่วม)
เปลี่ยนภาพ
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
YURi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 2:
[[ไฟล์:George B. McFarland.jpg|thumb|200px|พระอาจวิทยาคม (ยอร์ช บี. แมคฟาร์แลนด์) แพทย์ใหญ่ศิริราชพยาบาลคนแรก เมื่อ พ.ศ. 2435]]
 
'''พระอาจวิทยาคม''' (ยอร์ช บรัดเลยบรัดเลย์ แมคฟาร์แลนด์;''' ({{lang-en|George Bradley McFarland}}; 1 ธันวาคม พ.ศ. 2409 – 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2485) เป็นแพทย์และนักเขียนชาวอเมริกันในประเทศสยาม ดำรงตำแหน่งแพทย์ใหญ่[[โรงพยาบาลศิริราช]]
 
เป็นพี่น้องกับ[[เอ็ดวิน ฮันเตอร์]] ผู้เผยแพร่และค้นคว้า[[เครื่องพิมพ์ดีด]]ภาษาไทยคนแรก และเป็นพี่น้องกับวิลเลียมเฮย์ซามูเอล นายทหารผู้คิดค้นคำศัพท์ทหารไทย เช่น กลับหลังหัน วันทยาวุธ ทั้งเป็นบุตรของสตรีผู้นำจักรเย็บผ้าไปใช้ที่เพชรบุรีเป็นคนแรกและสอนตัดผ้าให้ชาวบ้านจนมีแบบเสื้ออย่างเรียบง่ายสำหรับผู้หญิง
 
==ประวัติ==
พระอาจวิทยาคมยอร์ชเป็นชาวกรุงเทพกรุงเทพฯ เกิดที่บ้าน[[หมอบรัดเลย์]] ปาก[[คลองบางกอกใหญ่]] เป็นบุตรของศาสนาจารย์ เอส. จี. แมคฟาร์แลนด์ และนางเจนนี แมคฟาร์แลนด์ โดยบิดามารดาของท่าน เป็นมิชชันนารีชาวอเมริกัน ที่ทำงานเพื่อเผยแพร่ศาสนา และพัฒนาสังคมไทยท่านคนละ 36 ปี โดยเริ่มต้นที่เพชรบุรี ในสมัยรัชกาลที่ 4 และมีบุตรธิดาสี่คนที่เกิดที่เมืองไทย รวมทั้งตัวท่านยอร์ชเอง และยังสอนให้บุตรธิดาทราบว่า ประเทศสยามเป็นแผ่นดินแม่ ต้องแทนบุญคุณ{{อ้างอิง}} และพี่น้องของท่าน เมื่อศึกษาจบมหาวิทยาลัย พี่ชายทั้งสองท่านกลับมาทำงานให้กับแก่รัฐบาลทั้งหมด รวมทั้งตัวท่านด้วยยอร์ชด้วย ท่านยอร์ชได้เรียนหนังสือที่[[โรงเรียนสวนอนันต์]]ที่บิดาเป็นครูใหญ่ ตามที่รัฐบาลขอให้จัดตั้งขึ้นในช่วงหนึ่ง เมื่ออายุ 17 ปี ก็จบการศึกษามาเป็นครูช่วยบิดาสอนหนังสืออยู่ 2 ปีจึงได้เดินทางไปศึกษาต่อที่ประเทศ[[สหรัฐอเมริกา]]เมื่อ [[พ.ศ. 2427]] สำเร็จปริญญา [[พ.ศ. 2429|พ.ศ. 2431]] จากวิทยาลัยวอร์ชิงตันและเจฟเฟอร์สัน ได้ปริญญาแพทยศาสตร์ใน [[พ.ศ. 2433]] จากวิทยาลัยเวสเทอร์นเมดิคอล แล้วเรียนศัลยแพทย์เฉพาะทาง ที่วิทยาลัยบัลติมอร์ พ.ศ. 2433 จากนั้นได้เข้าศึกษาต่อด้าน[[ศัลยกรรม]]และ[[ทันตกรรม]]จนได้รับปริญญาทันตแพทยศาสตร์บัณฑิต D.D.S อีกปริญญาหนึ่ง จาก Chirurgical College of Dentisity
 
พระอาจวิทยาคมยอร์ชเดินทางกลับประเทศไทยใน [[พ.ศ. 2434]] และได้รับการแต่งตั้งเป็นนายแพทย์ใหญ่ศิริราชพยาบาลในปีต่อมานั้นเอง ซึ่งในขณะนั้น แพทย์พยาบาลอีกทั้งเครื่องไม้เครื่องมือต่าง ๆ ทางการแพทย์ยังไม่พร้อม และยิ่งไปกว่านั้นคนไทยก็ยังไม่ยอมเข้ารักษาด้วยการแพทย์แผนปัจจุบันอีกด้วย พระอาจวิทยาคมยอร์ชจึงลงไปได้ ท่านได้ริเริ่มเรียบเรียงตำราแพทย์และบัญญัติศัพท์แพทย์ขึ้นใช้ในการสอนและการปฏิบัติงาน นอกจากนี้ยังเป็นผู้นำอุปกรณ์การสอนที่เป็นเครื่องฉายกระจกสไลด์มาใช้เป็นคนแรก พระอาจวิทยาคมยอร์ชได้ปฏิบัติหน้าที่ทั้งการเป็นแพทย์และการเป็นครูจนคนทั่วไปเรียกว่า "หมอยอร์ช" และได้รับการยกย่องในขณะนั้นว่าเป็นบิดาแห่งการแพทย์แผนปัจจุบันมีสมญาว่าเป็นอิฐก้อนแรกของโรงเรียนแพทย์อีกด้วย
 
ในทางส่วนตัว ท่านยอร์ชมีกิจการคลินิกทำฟัน รักษาฟัน ทำฟันปลอมสีดำ รักษาทั้งชาวบ้านและชาววัง แต่ท่านก็และยอร์ชยังมีความรู้ด้านอื่นที่ส่งต่อให้ท่านจากบิดา และพี่ชายส่งต่อให้
 
ด้วยเหตุที่หมอบรัดเลย์มอบเครื่องพิมพ์ให้แก่พ่อบิดาของท่านยอร์ชเพื่อพิมพ์ตำราคำสวด พ่อบิดาของท่านยอร์ชจึงค้นคว้าด้านการพิมพ์และเขี่ยวชาญเชี่ยวชาญภาษาไทย จนเขียนปทานุกรมและพูดภาษาไทยได้ชัดเจน และท่านยอร์ชก็ทำต่อมาในยุคของท่าน ท่านมีความยอร์ชชำนาญและรู้ภาษาไทยดีมาก จนบัญญัติศัพท์ต่าง ๆ ได้อย่างดี
 
เมื่อพี่ชายก่อนเสียชีวิต พี่ชายยอร์ชได้มอบหมายให้น้องชาย คือ คุณหมอยอร์ช หรือ หมอฟ้าลั่น (แมคฟาร์แลนด์) พัฒนาเครื่องพิมพ์ดีดให้แพร่หลาย โดยเริ่มต้นที่ยี่ห้อ สมิทพรีเมียร์ และในภายหลังยี่ห้อเรมิงตัน และพระอาจวิทยาคม ยอร์ชยังเป็นผู้คิดการพิมพ์สัมผัสจนแพร่หลายอีกด้วย โดยท่านยอร์ชได้ตั้งกิจการดังกล่าวขึ้น มีพนักงานกว่า 50 คน
 
กระทั่งวันที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2458 ท่านจึงยอร์ชได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น พระอาจวิทยาคม ถือศักดินา 800<ref> [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2458/D/3172.PDF พระราชทานบรรดาศักดิ์] </ref>
 
==บั้นปลายชีวิต==
[[ไฟล์:Grave of G.B. McFarland.jpg|thumbnail|หลุมฝังศพของ พระอาจวิทยาคม]]
พระอาจวิทยาคมยอร์ชลาออกจากราชการเมื่อ [[พ.ศ. 2469]] และได้มีส่วนในการย้าย[[โรงเรียนกุลสตรีวังหลัง]]ไปตั้งที่[[โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย]]ในปัจจุบัน ได้ให้การช่วยเหลือสนับสนุนด้านการเงินสำหรับจัดตั้ง[[โรงเรียนเยนเฮส์เมโมเรียล]]เพื่ออุทิศให้แก่มารดา ในปี[[ พ.ศ. 2471]] ท่านยอร์ชเป็นบรรณาธิการหนังสื่อ "หนึ่งศตวรรษในสยาม ค.ศ. 1828-1928" (อังกฤษ: Historical Sketch of Protestant Missions in Siam 1828-1928) ซึ่งเป็นส่วนสำคัญของการฉลองครบรอบ 100 ปีแห่งงาน[[โปรเตสแตนต์]]ในสยามในปีเดียวกัน<ref >[http://ulibm.bpi.ac.th/ULIB//dublin.php?ID=12704 ระบบห้องสมุดอัตโนมัติสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์]{{ลิงก์เสีย|date=พฤศจิกายน 2021 |bot=InternetArchiveBot |fix-attempted=yes }}, ค้นหาวันที่ 25 ธ.ค. 2556.</ref> บิดาของท่านยอร์ชสร้างปทานุกรมมาก่อน และท่านยอร์ชก็มาสานต่อ แก้ไข และเพิ่มถ่อยคำ มีการพิมพ์หลายครั้ง จนถึงในช่วงก่อน[[สงครามโลกครั้งที่ 2]] ประมาณ [[พ.ศ. 2480]] ก็ได้แต่ง[[ประทานุกรม|ปทานุกรม]][[ภาษาไทย]]-[[อังกฤษ]]ออกเผยแพร่ด้วย
 
'''พระอาจวิทยาคม''' ยอร์ชสมรสกับนางสาวแมรี่ ไอนา รู้ด และนางสาวเบอรธา เบลานท์ ไม่มีบุตรธิดา ท่านยอร์ชได้ดำรงชีวิตมาอย่างสงบและถึงแก่กรรมเมื่อสิริอายุ 75 ปีเศษ
 
== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ==
บรรทัด 31:
==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง}}
* ''พระอาจวิทยาคม'' ประมวลประวัติครู [[คุรุสภา]]จัดพิมพ์ร่วร่วมเฉลิมฉลองครบรอบ 100 ปี [[กระทรวงศึกษาธิการ]]. กรุงเทพฯ โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2535. หน้า 32
 
{{เรียงลำดับ|ยอร์จ}}