ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปริญญา จินดาประเสริฐ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
Manop (คุย | ส่วนร่วม)
Top 2% scientist
บรรทัด 19:
}}
 
'''ศาสตราจารย์ ดร.ปริญญา จินดาประเสริฐ''' (เกิด พ.ศ. 2494) เป็นนักวิชาการชาวไทยในตำแหน่ง[[ศาสตราจารย์]] มีผลงานวิจัยที่โดดเด่นในด้าน[[เถ้าลอย]]และ[[จีโอโพลิเมอร์]] ได้รับรางวัล[[นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ]] ในสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในปี พ.ศ. 2558<ref name="bio-EngKKU" /> และได้รับทุนศาสตราจารย์วิจัยดีเด่น ประจำปี 2561<ref name="bio-EngKKU" /> และได้ปรากฏในรายชื่อของนักวิทยาศาสตร์ที่โดดเด่นของโลก ''World’s Top 2% Scientists'' ในปี พ.ศ. 2564<ref name="top2-stanford" /> ดำรงตำแหน่ง[[อธิการบดี]][[มหาวิทยาลัยขอนแก่น]] คนที่ 8 สองวาระ ในระหว่าง (พ.ศ. 2538-2546) และได้ดำรงตำแหน่งสมาชิกวุฒิสภาพใน[[วุฒิสภาไทย ชุดที่ 7]] (2539-2543)<ref name="วุฒิสภา" />
 
ปัจจุบันเป็นกรรมการ[[สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา]] และราชบัณฑิตของ[[สำนักงานราชบัณฑิตยสภา]]
บรรทัด 33:
 
== ผลงานวิจัย ==
ศาสตราจารย์ ดร.ปริญญา จินดาประเสริฐ มีความเชี่ยวชาญด้านวิศวกรรมวัสดุก่อสร้าง โดยเริ่มต้นงานวิจัยด้านนี้ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2523 นับตั้งแต่เริ่มทำงานที่มหาวิทยาลัยขอนแก่น มีความเชี่ยวชาญในสาขาวิศวกรรมวัสดุก่อสร้าง โดยเฉพาะ[[เถ้าลอย]] และ[[จีโอโพลิเมอร์]] โดยเน้นในด้านวัสดุก่อสร้างที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และวัสดุซีเมนต์ผสมวัสดุนาโนในการทำวัสดุฉลาดและเก็บกักพลังงาน โดยมีผลงานที่ถูกนำไปอ้างอิงในวารสารนานาชาติ มากกว่าจำนวน 14,400 ครั้ง ปรากฏในฐานข้อมูล [[SCOPUS]] โดยมีดัชนี [[h-index]] ที่ค่า 62<ref name="SCOPUS">[http://www.scopus.com/authid/detail.url?authorId=8302542200 SCOPUS Author Profile : Prinya Chindaprasirt]</ref> โดยผลงานด้านเถ้าลอย และจีโอโพลิเมอร์ ได้รับการจัดอันดับที่ 1 และอันดับที่ 2 ของโลกในฐานะนักวิจัยที่มีผลกระทบต่อวงการวิจัยในด้านนี้ตามการจัดอันดับของ[[ไมโครซอฟท์ แอคาเดมิก]] <ref name="Microsoft Academic fly ash">[https://academic.microsoft.com/topic/87343466/authors?pi=1 Microsoft Academic: Fly ash]</ref><ref name="Microsoft Academic geopolymer">[https://academic.microsoft.com/topic/2780837464/authors?pi=1 Microsoft Academic: Geopolymer]</ref> ท่านได้ปรากฏในรายชื่อของนักวิทยาศาสตร์ที่โดดเด่นของโลก ''World’s Top 2% Scientists'' ในปี พ.ศ. 2564 ที่จัดอันดับโดย[[มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด]]ร่วมกับบริษัท[[แอ็ลเซอเฟียร์]]<ref name="top2-stanford">[https://elsevier.digitalcommonsdata.com/datasets/btchxktzyw/3 August 2021 data-update for "Updated science-wide author databases of standardized citation indicators"]</ref>
 
ในปี พ.ศ. 2554 ศาสตราจารย์ ดร.ปริญญา จินดาประเสริฐ ได้รับเลือกให้เป็น[[รายนามเมธีวิจัยอาวุโส สกว.|เมธีวิจัยอาวุโส สกว.]]ในระหว่าง ปี พ.ศ. 2554-2560<ref name="bio-EngKKU" /> และยังได้รับเลือกให้เป็น ศาสตราภิชาน บริษัท เอสซีจี ซิเมนต์ จำกัด<ref name="bio-EngKKU" /> ถึง 3 วาระอย่างต่อเนื่อง นับตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2554-2561 คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ สาขาวิทยาศาสตร์และเทดโนโลยี (พ.ศ. 2546-2548) รองประธานสมาคมคอนกรีตไทย (พ.ศ. 2547- 2552) Vice-President ACI-Thailand Chapter (พ.ศ. 2547- 2552) ประธานคณะกรรมการบริหารโครงการวิจัย ชุดโครงการวิจัยและพัฒนาระบบบริหารจัดการคุณภาพงานวิจัย บัณฑิตศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏ (พ.ศ. 2547) ผู้อำนวยการหน่วยบ่มเพาะวิสาหกิจ UBICO สกอ. (พ.ศ. 2549-2550) หลังจากนั้น ใน พ.ศ. 2556 ได้รับการแต่งตั้งให้เป็น ภาคีสมาชิก ราชบัณฑิตยสถาน สำนักวิทยาศาสตร์<ref>http://www.royin.go.th/wp-content/uploads/royin-ebook/83/FileUpload/2913_9044.pdf</ref> ถัดจากนั้น ใน ปี พ.ศ. 2557 ได้รับเลือกจาก จากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ให้เป็นนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ในสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี<ref name="bio-EngKKU" /> และในปี พ.ศ. 2558 ได้รับรางวัล Thomson Reuters Thailand Frontier Researcher Award และรางวัล Toray Foundation Thailand: Science and Technology Award<ref name="bio-EngKKU" /> และในปี พ.ศ. 2561 ได้ทุนศาสตราจารย์วิจัยดีเด่น จาก[[สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย]] <ref name="bio-EngKKU" />