ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กรมทหารรักษาวัง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
หน้าใหม่: {{Infobox Military Unit |unit_name = กรมทหารรักษาวัง วปร. |image = |caption = |founded = สิงหาคม พ.ศ. 2455 ({{อายุ|2455|8|0}} ปี) |country = {{flag|ไทย}} |allegiance= |type = กำลังกึ่งทหาร |role = ถวายความปลอดภัยแด่องค์พระมหากษัตริย์ |size = |branch = |dates = |specialization = |command_...
 
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ลิงก์แก้ความกำกวม
บรรทัด 1:
{{ความหมายอื่น||กรมทหารรักษาวังในปัจจุบันนี้|กองพันทหารราบที่ 3 กรมทหารมหาดเล็กราชวัลลภรักษาพระองค์ที่ 1}}
{{Infobox Military Unit
|unit_name = กรมทหารรักษาวัง วปร.
|image = Garuda Emblem of Thailand (Gold).svg
|image =
|caption = ตราพระครุฑพ่าห์สีทองหน้าหมวกอุศเรนของกรมทหารรักษาวัง วปร.
|caption =
|founded = สิงหาคมกรกฏาคม พ.ศ. 2455 ({{อายุ|2455|87|0}} ปี)
|country = {{flag|ไทย}}
|allegiance=
เส้น 12 ⟶ 13:
|dates =
|specialization =
|command_structure =
|garrison = [[พระบรมมหาราชวัง]]และ[[พระราชวังดุสิต]] กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย
|garrison =
|ceremonial_chief =
|command_structure1 = [[กระทรวงวัง]]
|command_structure2 =
บรรทัด 24:
|battles =
|commander1=[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]]
|commander_labelcommander1_label= ผู้บังคับการพิเศษ
|commander2= [[พระยาอนิรุทเธวา (หม่อมหลวงฟื้น พึ่งบุญ)]]
|commander_labelcommander2_label= ผู้บังคับการ
|commander3= [[พระยาประสิทธิ์ศุภการ (หม่อมหลวงเฟื้อ พึ่งบุญ)]]
|commander_labelcommander3_label= จเรทหาร
|current_commander_label =
|notable_commanders =
|anniversaries =
|identification_symbol =
เส้น 41 ⟶ 39:
|identification_symbol_4_label=
}}
'''กรมทหารรักษาวัง วปร.''' เป็นกอง[[กำลังกึ่งทหาร]]ส่วนพระองค์ใน[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ก่อตั้งขึ้นเมื่อเดือนสิงหาคมกรกฏาคม พ.ศ. 2455 ทำหน้าที่ถวาย[[ความปลอดภัย]]เป็นการส่วนพระองค์ จึงทำให้กรมทหารแทนทหารจากกรม[[ทหารรักษาพระองค์|ทหารมหาดเล็กรักษาพระองค์]] โดย[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ทรงมีพระราชดำริว่า การทหารวังนั้น "มิใช้หน้าที่ของทหาร" แต่เป็นของกรมวังนอก<ref>[https://mgronline.com/daily/detail/9640000097457 หน่วยบัญชาการถวายความปลอดภัยรักษาพระองค์คือกองทัพส่วนพระองค์ใช่หรือไม่?]</ref>
 
กรมทหารรักษาวัง อยู่ในสังกัด[[กระทรวงวัง]] โดยมีสมุหราชองครักษ์เป็นผู้บังคับการ ทำหน้าที่รับสนองพระบรมราชโองการ และมีเจ้าหน้าที่เป็นพลเรือน โดยใช้พระราชทรัพย์ส่วนพระองค์เป็นงบประมาณสำหรับบริหารกิจการภายในกรมทหารรักษาวัง และมีศาลทหารรักษาวังสำหรับพิจารณาคดีโดยเฉพาะ ทำให้สายการบังคับบัญชาของกรมทหารรักษาวังแยกออกจาก[[กระทรวงกลาโหม (ประเทศไทย)|กระทรวงกลาโหม]]<ref>[https://www.silpa-mag.com/history/article_45086 หลังเหตุการณ์ ร.ศ.130 รัชกาลที่ 6 ทรงตั้ง “กรมทหารรักษาวัง” เพราะทรงไม่วางพระทัยกองทัพ]</ref>
 
ภายหลังการสวรรคตของ[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ในรัชสมัยของ[[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ทรงลดความสำคัญของกรมทหารรักษาวังลงด้วยการลดทอนอัตรากำลังพลของกรมทหารรักษาวัง และเมื่อปี พ.ศ. 2478 [[คณะราษฎร]]ยุบเลิกกรมทหารรักษาวังไปสังกัดหน่วยทหารของ[[กองทัพบก]] [[กระทรวงกลาโหม (ประเทศไทย)|กระทรวงกลาโหม]]แทน และเมื่อปี พ.ศ. 2488 ปัจจุบันได้เปลี่ยนเป็น[[กองพันทหารราบที่ 3 กรมทหารมหาดเล็กราชวัลลภรักษาพระองค์ที่ 1]]
 
== ภูมิหลัง ==
ครั้งเมื่อพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จขึ้นครองราชสมบัติ ช่วงเดือนเมษายน พ.ศ. 2455 ได้เกิดเหตุการณ์[[กบฏ ร.ศ. 130]] ทหารจำนวนหนึ่งได้ลุกขึ้นมาก่อกบฏ แม้ว่าการก่อกบฏในครั้งนี้จะไม่สำเร็จ แต่เหตุการณ์ดังกล่าว ได้ส่งผลกระทบโดยตรงต่อความมั่นคงต่อพระราชบัลลังก์ของพระองค์ เพราะเป็นครั้งแรกของสถาบันกษัตริย์ถูกท้าทายพระราชอำนาจของพระองค์
 
โดยเมื่อวันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2455 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชหัตถเลขาถึง[[เจ้าพระยารามราฆพ (หม่อมหลวงเฟื้อ พึ่งบุญ)]] ความว่า {{คำพูด|"เมื่อวันที่ 6 เมษายน ฉันได้พูดจาตกลงกับเสนาบดีกระลาโหมว่า กรมวังนอก ซึ่งมีน่าที่รักษายามตามประตูพระบรมมหาราชวังและวังสวนดุสิต จะได้จัดวางระเบียบใหม่ คือจะได้จัดให้เป็นทหาร จึงขอให้เสนาบดีกระลาโหมเลือกหานายทหารมาเป็นผู้บังคับบัญชา และคนที่เกณฑ์ก็ให้ใช้เกณฑ์ตามพระราชบัญญัติลักษณะเกณฑ์ทหาร กรมวังนอก ตามที่เป็นอยู่ก่อนนั้น สามัญชนเรียกกันว่า ทหารชาววัง [...] การรักษาพาใจไม่สู้เรียบร้อย และตามประตูมียามทหารบกวางซ้อนอยู่ด้วยทุกแห่ง ส่วนที่จะระเบียบใหม่นั้น กรมทหารที่ตั้งขึ้นใหม่เรียกว่า กรมทหารรักษาวัง เป็นทหารบกจริง ๆ แต่สังกัดขึ้นกระทรวงวัง นับว่าเป็นที่เรียบร้อยดี และถอนทหารบกที่เคยวางยามตามประตูวังออกได้..."|พระราชหัตถเลขา[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]]}}
 
หลังจากนั้น ในเดือนกรกฏาคม พ.ศ. 2455 [[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ทรงแสดงให้เห็นว่าไม่แน่พระราชหฤทัยต่อความจงรักภักดีของทหารใน[[กองทัพบก]] ด้วยเหตุนี้ [[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] โปรดเกล้า ฯ จัดตั้ง "กรมทหารรักษาวัง วปร." ขึ้นเพื่อทำหน้าที่ถวาย[[ความปลอดภัย]]เป็นการส่วนพระองค์แทนทหารจากกรมทหารมหาดเล็กรักษาพระองค์ และด้วยความมุ่งหวังส่วนพระองค์ว่ากรมทหารรักษาวังนี้จะเป็นความมั่นคงต่อพระราชบัลลังก์ในพระองค์<ref>เทพ บุญตานนท์. "กรมทหารรักษาวังของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว" : พลเรือนในเครื่องแบบทหาร, ศิลปวัฒนธรรม. 2559.</ref>
 
[[ไฟล์:Palace Guard in Rama VI of Siam parade.jpg|250px|thumb|right|ขบวนทหารรักษาวัง วปร. สวมหมวกอุศเรน มีตราพระครุฑพ่าห์โลหะสีทองติดทับบนดอกไม้แพรจีบสีบานเย็น ประดับพู่สีขาว สวมเสื้อราชประแตน กางเกงสีขาบแกบสีบานเย็น]]
== โครงสร้าง ==
กรมทหารรักษาวัง วปร. มีรูปแบบการจัดกำลังแบบ[[ทหารราบ]]ในสังกัด[[กระทรวงกลาโหม]] โดยแบ่งออกเป็น 2 กองพัน คือ
 
*กองพันที่ 1 กรมทหารรักษาวัง วปร. ประจำการอยู่ที่[[พระบรมมหาราชวัง]]
 
*กองพันที่ 2 กรมทหารรักษาวัง วปร. ประจำการอยู่ที่[[พระราชวังดุสิต]]
 
มีสมุหราชองครักษ์เป็นผู้บังคับการ ทำหน้าที่รับสนองพระบรมราชโองการ โดยใช้เงินพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์เป็นเงินงบประมาณสำหรับบริหารกิจการภายในกรมทหารรักษาวัง และมี[[ศาลทหาร]]รักษาวังสำหรับพิจารณาคดีโดยเฉพาะ ทำให้สายการบังคับบัญชาแยกออกจากกองทัพบก กระทรวงกลาโหม
 
ในส่วนของกำลังพลนั้นโอนจากข้าราชบริพารที่อยู่ในสังกัดกรมวังนอก รวมถึงทหารในสังกัด[[กระทรวงกลาโหม]] ซึ่งทางกรมทหารรักษาวัง วปร. ได้ขอให้โอนย้ายมาสังกัดกรมทหารรักษาวัง วปร. นอกจากนี้แล้วยังมี[[ข้าราชการ]]ในพระราชสำนัก รวมทั้ง[[มหาดเล็ก]]สมัครเข้าเป็นทหารรักษาวัง
 
== อ้างอิง ==