ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Waniosa Amedestir (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
AAAERTCM (คุย | ส่วนร่วม)
จัดรูปแบบไม้ยมกด้วยสจห.
บรรทัด 42:
 
== ประวัติ ==
ภาษาไทยจัดอยู่ใน[[กลุ่มภาษาไท]] (Tai languages) ภาษาหนึ่ง ซึ่งเป็นสาขาย่อยของ[[ตระกูลภาษาขร้า-ไท]] ภาษาไทยมีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับภาษาใน[[กลุ่มภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้|สาขาไทจะวันตกเฉียงใต้]]ภาษาอื่นๆอื่น ๆ เช่น [[ภาษาลาว]] [[ภาษาผู้ไท]] [[ภาษาคำเมือง]] [[ภาษาไทใหญ่]] เป็นต้น รวมถึงภาษาตระกูลไทอื่นๆอื่น ๆ เช่น [[ภาษาจ้วง]] ภาษา[[เหมาหนาน]] [[ภาษาปู้อี]] [[ภาษาไหล]] ที่พูดโดยชนพื้นเมืองบริเวณ[[ไหหนาน]] [[เขตปกครองตนเองกว่างซีจ้วง|กวางสี]] [[มณฑลกวางตุ้ง|กวางตุ้ง]] [[มณฑลกุ้ยโจว|กุ้ยโจว]] ตลอดจน[[ยูนนาน]] ไปจนถึง[[เวียดนามตอนเหนือ]] ซึ่งสันนิษฐานว่าจุดกำเนิดของภาษาไทยน่าจะมาจากบริเวณดังกล่าว
 
ราวพุทธศตวรรษที่ 13-15 ได้มีการอพยพของผู้พูดภาษากลุ่มไทลงมาจากจีนตอนใต้ มายังเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยนำพาภาษากลุ่มไทลงมาด้วย ภาษาที่[[ชาวไท|ชนกลุ่มไท]]กลุ่มนี้พูดได้รับการสืบสร้างเป็น[[ภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม]] ซึ่งในเวลาต่อมาได้รับอิทธิพลจาก[[ตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก|ภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติก]] ที่พูดโดยชาวออสโตรเอเชียติก (มอญ-เขมร) และอยู่อาศัยในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้อยู่เดิม รวมถึงได้รับอิทธิพลจากภาษาทางวรรณกรรม คือ [[ภาษาสันสกฤต]] และ [[ภาษาบาลี]] จนพัฒนามาเป็นภาษาไทยในปัจจุบัน
บรรทัด 49:
{{ต้องการอ้างอิง-ส่วน}}
ภาษาไทยในอดีตมีระบบเสียงที่แตกต่างไปจากภาษาไทยปัจจุบันอย่างชัดเจน ซึ่งมีประเด็นสำคัญต่อไปนี้<ref name="Pittayaporn2009a">Pittayaporn, Pittayawat. (2009a). [https://ecommons.cornell.edu/bitstream/handle/1813/13855/Pittayaporn,%20Pittayawat.pdf ''The Phonology of Proto-Tai (Doctoral dissertation)''.] Department of Linguistics, Cornell University.</ref>
* มีการแบ่งแยกระหว่างเสียงก้องและเสียงไม่ก้องในแทบทุกฐานกรณ์ และทุกๆทุก ๆ ลักษณะการเกิดเสียง (manner of articulation) นั่นคือ มีเสียงพยัญชนะ /b d d͡ʑ g/ ซึ่งแบ่งแยกจาก /p t t͡ɕ k/ อย่างชัดเจน รวมถึงมีการแบ่งแยกระหว่างเสียงนาสิกแบบก้องและแบบไม่ก้องด้วย (/m̥ n̥ ɲ̊ ŋ̊/ หรือ /ʰm ʰn ʰɲ ʰŋ/ กับ /m n ɲ ŋ/ →ตัวอย่าง1) รวมถึงเสียงเปิด (/ʍ l̥/ กับ /w l/) ซึ่งลักษณะดังกล่าวนี้ได้สูญหายไปในภาษาไทยปัจจุบัน
{| class="wikitable"
|+→ตัวอย่าง1
บรรทัด 455:
|}
* มีวรรณยุกต์เพียงสามเสียงเท่านั้น ได้แก่ เสียงสามัญ เสียงเอก และเสียงโท (หรือเขียนแทนด้วย *A, *B และ *C ตามลำดับ) ในพยางค์เป็น (unchecked syllable) จะมีเสียงวรรณยุกต์ที่เป็นไปได้ 3 เสียง ส่วนพยางค์ตาย (checked syllable) มีเสียงวรรณยุกต์ที่เป็นไปได้เพียงเสียงเดียว คือเสียงเอก
* นอกจากอักษรควบกล้ำทั่วไปย่าง(กร-ฅร-ขร-คร-ตร-ปร-พร/กล-ฅล-ขล-คล-ปล-พล/กว-คว-ฅว)แล้วยังมีอักษรควบกล้ำพิเศษอีก 4 ตัว ก็คือ (*bd บด, *pt ผต, *mr/ml มร/มล, *thr ถร) ตามผลการวิจัยของนักภาษาศาสตร์ภาษาไทกะไดเช่น André-Georges Haudricourt และ Li Fang-Kuei ปัจจุบันสามารถหาหลักฐาลจากภาษาไทกะไดต่างๆต่าง ๆ ได้
{| class="wikitable"
|+
บรรทัด 542:
|/ta:i/
|}
* มีเสียงสระประสม /aɰ/ ซึ่งเขียนแทนด้วย[[ไม้ม้วน]] (ใ) เสียงสระนี้ได้สูญหายไปจากภาษาไทยปัจจุบัน โดยกลายเป็นเสียง [aj] สำหรับสระอื่นๆอื่น ๆ โดยหลักๆหลัก ๆ ไม่มีความแตกต่างจากภาษาไทยปัจจุบัน →ตัวอย่าง5
{| class="wikitable"
|+→ตัวอย่าง5
บรรทัด 717:
| -
|ໃງ່ /ŋai/(ขี้ฝุ่น)
|ngawq /ŋaɯ/(สิ่งเล็กๆเล็ก ๆ ในน้ำ)
|ngawq /ŋaɯ/(สิ่งเล็กๆเล็ก ๆ ในน้ำ)
|-
|ʰɲaɯ
บรรทัด 832:
 
ในสมัยอยุธยาตอนต้น (พุทธศตวรรษที่ 21) ได้เกิดการเปลี่ยนแปลงของระบบเสียงภาษาไทยเก่าขึ้น<ref name="Pittayaporn2009a" /> นับเป็นจุดเปลี่ยนผ่านจากภาษาไทยเก่าไปเป็นภาษาไทยสมัยใหม่ โดยมีขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงดังนี้
#หน่วยเสียงวรรณยุกต์ทั้ง 3 เสียง (*A, *B และ *C) ได้แตกตัวออกเป็นเสียงละ 2 เสียง รวมทั้งหมดเป็น 6 เสียง (*A1, *A2, *B1, *B2, *C1 และ *C2) ขึ้นอยู่กับความก้องของเสียงพยัญชนะต้น แต่หน่วยเสียงที่แตกตัวออกมาเป็นคู่ๆคู่ ๆ เหล่านั้นยังคงมีความแตกต่างกันเพียงในระดับ[[หน่วยเสียงย่อย]] เท่านั้น
#* เสียงวรรณยุกต์ชุดแรก *A1, *B1 และ *C1 จะปรากฏในคำที่มีพยัญชนะต้นเป็นเสียงไม่ก้อง และเสียงกักเสีนเสียง ได้แก่ /p pʰ t tʰ t͡ɕ t͡ɕʰ k kʰ ʔ h f s x m̥ n̥ ɲ̊ ŋ̊ ʍ l̥/
#* เสียงวรรณยุกต์ชุดที่สอง *A2, *B2 และ *C2 จะปรากฏในคำที่มีพยัญชนะต้นเป็นเสียงก้อง ได้แก่ /b d d͡ʑ g v z ɣ m n ɲ ŋ r w l j/
บรรทัด 842:
#มีการแตกตัวและการรวมของเสียงวรรณยุกต์ต่อไป
 
ภาษาไทยถิ่นกลางมีการแตกตัวและการยุบรวมของเสียงวรรณยุกต์ที่มีลักษณะเฉพาะ แบ่งแยกได้จากภาษาถิ่นภาคอื่นๆอื่น ๆ ได้แก่ การแตกตัวของเสียงวรรณยุกต์ *A ออกเป็นสองเสียงที่ต่างกันระหว่างพยัญชนะเสียงไม่ก้องที่มีลม (/pʰ tʰ t͡ɕʰ kʰ h f s x m̥ n̥ ɲ̊ ŋ̊ ʍ l̥/) กับเสียงไม่ก้องที่ไม่มีลม (/p t t͡ɕ k <sup>ʔ</sup>b <sup>ʔ</sup>d <sup>ʔ</sup>j ʔ/) และมีการยุบรวมของเสียงวรรณยุกต์ *B2 (เอก-ก้อง) และ *C1 (โท-ไม่ก้อง) อีกด้วย จึงเป็นเหตุผลว่าทำไมคำว่า [[wikt:ค่า|ค่า]] กับ [[wikt:ข้า|ข้า]] หรือคำว่า [[wikt:น่า|น่า]] กับ [[wikt:หน้า|หน้า]] จึงออกเสียงวรรณยุกต์เป็นเสียงเดียวกันในภาษาไทยถิ่นกลาง แตกต่างจากภาษาไทยถิ่นเหนือและอีสานที่มีการแตกตัวและยุบรวมของเสียงวรรณยุกต์ที่ต่างไปจากนี้ จึงออกเสียงวรรณยุกต์ของทั้งสองคำนี้ต่างกันไปด้วย
 
สำหรับภาษาไทยถิ่นกลางบางสำเนียง เช่น สำเนียงกรุงเทพ และสำเนียงอยุธยา เป็นต้น มีการยุบรวมเสียงวรรณยุกต์ *A1 ของพยัญชนะเสียงไม่ก้อง ไม่มีลม (/p t t͡ɕ k <sup>ʔ</sup>b <sup>ʔ</sup>d <sup>ʔ</sup>j ʔ/) กับเสียงวรรณยุกต์ *A2 ของพยัญชนะเสียงก้อง (/b d d͡ʑ g v z ɣ m n ɲ ŋ r w l j/) ด้วย จึงเป็นเหตุผลว่าทำไมคำว่า [[wikt:กา|กา]] กับ [[wikt:คา|คา]] จึงออกเสียงวรรณยุกต์เหมือนกัน (เสียงสามัญ) แต่ออกเสียงวรรณยุกต์ต่างจากคำว่า [[wikt:ขา|ขา]] ซึ่งเป็นเสียงจัตวา ในขณะที่ภาษาไทยถิ่นกลางบางสำเนียง เช่น สำเนียงสุพรรณ (ในผู้พูดบางราย) มีการออกเสียงวรรณยุกต์ของคำว่า [[wikt:กา|กา]] กับ [[wikt:คา|คา]] ที่ต่างกันอยู่ นั่นคือยังไม่มีการยุบรวมของเสียงวรรณยุกต์ *A1 และ *A2 ดังกล่าว การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวทำให้ภาษาไทยกรุงเทพปัจจุบันมีเสียงวรรณยุกต์ที่แตกต่างกัน 5 หน่วยเสียง และสำเนียงสุพรรณ (ในผู้พูดบางราย) มีเสียงวรรณยุกต์ 6 หน่วยเสียง
บรรทัด 909:
วรรณยุกต์ที่ 1-5 ในภาษาไทยสำเนียงกรุงเทพในตาราง คือวรรณยุกต์ สามัญ เอก โท ตรี จัตวา ตามลำดับ
 
แม้ว่าจะมีการการเปลี่ยนแปลงของระบบเสียงวรรณยุกต์จากภาษาไทยเก่ามาเป็นภาษาไทยสมัยใหม่ แต่อักขรวิธีของภาษาไทยยังคงรูปเขียนเช่นเดิม ทำให้รูปเขียนและเสียงอ่านมีความไม่สอดคล้องกันขึ้น ยกตัวอย่างเช่น คำว่า ข้า กับ ค้า ที่ออกเสียงวรรณยุกต์ต่างกัน ทั้งๆทั้ง ๆ ที่มีรูปวรรณยุกต์โทเช่นเดียวกัน เกิดจากการที่ทั้งสองคำนี้เคยมีเสียงวรรณยุกต์เดียวกัน แต่มีเสียงพยัญชนะต้นที่แตกต่างกัน คือเสียง ข /kʰ/ และ ค /g/ ในภาษาไทยเก่า ความไม่สอดคล้องกันระหว่างรูปเขียนและเสียงอ่าน ทำให้เกิดระบบ[[ไตรยางศ์]] ขึ้น โดยเป็นระบบการจัดหมวดหมู่รูปพยัญชนะอักษรไทยที่จัดให้รูปวรรณยุกต์หนึ่งๆหนึ่ง ๆ มีการออกเสียงที่แตกต่างกันได้เป็น 2 เสียง ขึ้นอยู่กับรูปพยัญชนะต้นของคำนั้นๆนั้น ๆ ซึ่งเป็นไปตามรูปแบบการแตกตัวและยุบรวมของหน่วยเสียงพยัญชนะและสระข้างต้น
 
===เสียงวรรณยุกต์ในสมัยอยุธยา===
บรรทัด 975:
[[:en:Song of the Yue Boatman|บทเพลงของคนพายเรือชาวเย่ว์]] (Song of the Yue Boatman) เป็นหลักฐานชิ้นหนึ่งในหลักฐานเพียงไม่กี่ชิ้นที่เขียนขึ้นในภาษาดังกล่าว ซึ่งได้รับการถ่ายเสียงเป็นอักษรจีนโบราณเมื่อ 528 ปีก่อนคริสตศกราช ในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 80 นักภาษาศาสตร์ชาวจ้วง [[เหวย ชิ่งเหวิน]] (Wéi Qìngwén) ได้เทียบเสียงที่สืบสร้างจากอักษรจีนโบราณในบทเพลงดังกล่าวกับ[[ภาษาจ้วง]]ปัจจุบัน พบว่ามีความคล้ายคลึงกันเป็นอย่างยิ่ง ต่อมานักภาษาศาสตร์ชาวจีน [[:en:Zhengzhang_Shangfang|เจิ้งจาง ช่างฟาง]] (Zhèngzhāng Shàngfāng) ได้เดินรอยตาม[[เหวย ชิ่งเหวิน]] แต่เห็นว่าอักษรไทยปัจจุบันนั้นยังรักษาอักขรวิธีที่สะท้อนถึงระบบเสียงในภาษาไทยเก่าในพุทธศตวรรษที่ 18 อยู่ (ซึ่งมีความคล้ายคลึงกับระบบเสียงของ[[ภาษาไทดั้งเดิม]]) {{sfn|Zhengzhang|1991|pp= 159–168}} จึงนำเสียงที่ถ่ายมาจากบทเพลงของคนพายเรือชาวเย่ว์มาเปรียบเทียบกับอักษรไทยปัจจุบัน พบว่ามีความคล้ายคลึงกัน
 
ด้านล่างนี้คือการถ่ายเสียงอย่างง่ายจาก[[:en:Song of the Yue Boatman|บทเพลงของคนพายเรือชาวเย่ว์]] แถวบนสุดคือข้อความต้นฉบับในอักษรจีน แถวถัดมาคือการออกเสียงในภาษาจีนโบราณ แถวที่สามคือการถอดอักขรวิธีภาษาไทยให้อยู่ในรูป[[สัทอักษรสากล]] แถวล่างสุดคือความหมายของคำนั้นๆนั้น ๆ
 
{| border="0" cellspacing="0" cellpadding="0" style="margin:auto; width:100%;"
บรรทัด 1,752:
|-
|16
|
|วิเศษณ์
|0.81
บรรทัด 2,248:
{{วิกิตำรา}}
* [http://www.omniglot.com/writing/thai.htm ภาษาไทยและอักษรไทย ที่ Omniglot] {{en icon}}
* [httphttps://wwwdictionary.royinorst.go.th/dictionary/ พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔]
* [https://sites.google.com/site/thaidictproject/ พจนานุกรม ภาษาไทยในรูปแบบ สตาร์ดิกต์ (StarDict), GoldenDict และ ABBYY Lingvo]
 
บรรทัด 2,255:
{{ภาษาทางการอาเซียน}}
 
[[หมวดหมู่:ภาษาไทย| ]]
[[หมวดหมู่:ภาษาในประเทศไทย|ไทย]]
[[หมวดหมู่:กลุ่มภาษาไท|ไทย]]