ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศิลปะตามหลักวิชา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mattis (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 1:
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
<!-- กรุณาอย่าเปลี่ยน ค.ศ. เป็น พ.ศ. เพราะเมื่อขยายบทความนี้จะมีการอ้างอิงไปถึงคริสต์ศักราช และบทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของบทความในชุดใหญ่ที่ใช้ ค.ศ. วิกิกล่าวว่าการใช้ ค.ศ. เป็น พ.ศ. ขึ้นอยู่กับผู้เขึยน ฉะนั้นขอเลือก ค.ศ. ในกรณีนี้ ขอบคุณค่ะ-->
[[Imageภาพ:1863 Alexandre Cabanel - The Birth of Venus.jpg|thumb|350px|“กำเนิดวีนัส” (Birth of Venus) โดย [[อเล็กซานเดอร์ คาร์บาเนล]] (Alexandre Cabanel) ค.ศ. 1863]]
'''ศิลปะสถาบัน''' ([[ภาษาอังกฤษ]]: Academic art) คือลักษณะของ[[จิตรกรรม]] และ [[ประติมากรรม]]ที่สร้างขึ้นภายใต้อิทธิพลของสถาบันหรือมหาวิทยาลัยศิลปะในยุโรป '''ศิลปะสถาบัน''' โดยเฉพาะจะเป็นศิลปินที่ได้รับอิทธิพลจากสถาบันวิจิตรศิลป์แห่งฝรั่งเศส (Académie des beaux-arts) ซึ่งใช้แนว[[ศิลปะฟื้นฟูคลาสสิค]]และ[[ลัทธิโรแมนติคซิสม์]] (Romanticism) เป็นหลัก โดยเป็นศิลปะที่สร้างจากคุณลักษณะที่ดึงมาจากทั้งสองทฤษฏี ซึ่งจะเห็นได้จากงานของ วิลเลียม อดอล์ฟ โบกูโร (William-Adolphe Bouguereau), ซูซอร์ โคท (Suzor-Coté), ทอมัส โคโทร์ (Thomas Couture) และ อันส์ มาร์คาร์ท (Hans Makart) ในกรณีนี้จึงเรียกศิลปะนี้ว่า “ศิลปะสถาบัน” หรือ “L'art pompier” และ “คตินิยมสรรผสาน” (eclecticism) ซึ่งบางครั้งก็จะพยายามดึงลักษณะเด่นๆ มาจากศิลปะกรรมในประวัติศาสตร์มาวิวัฒนาการเข้าด้วย
 
บรรทัด 15:
<center>
<gallery perrow="5">
Imageภาพ:William-Adolphe Bouguereau (1825-1905) - The Bunch Of Grapes (1868).jpg|“พวงองุ่น” (The Bunch Of Grapes) ค.ศ. 1868 โดย วิลเลียม อดอล์ฟ โบกูโร
Imageภาพ:William-Adolphe Bouguereau (1825-1905) - Temptation (1880).png|“ยั่ว” (Temptation) ค.ศ. 1880 โดย วิลเลียม อดอล์ฟ โบกูโร
Imageภาพ:Thomas Couture 003.jpg|“ความฟุ้งเฟ้อของชาวโรมัน” (Les Romains de la décadence ) ค.ศ. 1847 โดย ทอมัส โคโทร์
Imageภาพ:Makart Fuenf Sinne.jpg|“ความรู้สึกห้าอย่าง” (The five senses) โดย อันส์ มาร์คาร์ท
Imageภาพ:Ary Scheffer Greek Women Imploring at the Virgin of Assistance.jpg|“ผู้หญิงกรีกขอให้พระแม่มารีช่วย” (Greek Women Imploring at the Virgin of Assistance) ค.ศ. 1826 โดย อารี เชฟเฟอร์ (Ary Scheffer)
</gallery>
</center>