ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระยามโนปกรณ์นิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Miwako Sato (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
Miwako Sato (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล ผู้นำประเทศ
| name = พระยามโนปกรณปกรณ์นิติธาดา <br>(ก้อน หุตะสิงห์)
| honorific-prefix = [[ยศข้าราชการทหารและพลเรือนของสยาม|มหาอำมาตย์โท]]
| honorific-suffix = <br>[[เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย|ป.ม.]], [[ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ|ท.จ.ว.]]
| image = Phraya Manopakorn Nititada.jpg
| caption = พระยามโนปกรณปกรณ์นิติธาดา ใน พ.ศ. 2473
| ชื่อนามสกุล = พระยามโนปกรณปกรณ์นิติธาดา <br>(ก้อน หุตะสิงห์)
| order = [[นายกรัฐมนตรีไทย]] คนที่ 1
| term_start = 28 มิถุนายน พ.ศ. 2475
บรรทัด 32:
| death_place = [[รัฐปีนัง]] [[สหพันธรัฐมาลายา]]
| party =
| spouse = คุณหญิงนิตย์ มโนปกรณปกรณ์นิติธาดา<br>เชย หุตะสิงห์
| children = 1 คน
| signature =
บรรทัด 38:
}}
 
มหาอำมาตย์โท '''พระยามโนปกรณปกรณ์นิติธาดา'''<ref name = ":24692462"/> บ้างเขียน '''พระยามโนปกรณ์ปกรณนิติธาดา'''<ref name = ":2469"/> นามเดิม '''ก้อน หุตะสิงห์''' (15 กรกฎาคม พ.ศ. 2427 – 1 ตุลาคม พ.ศ. 2491) เป็นขุนนางชาวสยาม ดำรงตำแหน่ง[[นายกรัฐมนตรีไทย|นายกรัฐมนตรีสยาม]]คนแรก หลังจาก[[การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475]] โดยได้รับเลือกจากสมาชิก[[คณะราษฎร]] เพื่อเป็นการประนอมอำนาจกับอำนาจเก่า เป็นผู้มีส่วนสำคัญในการร่าง[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม]] (พ.ศ. 2475) ซึ่งมีการเพิ่มพระราชอำนาจคืนเป็นอันมากเมื่อเทียบกับรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราว กราบบังคมทูลพระกรุณาพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวในการสั่งปิดสภาผู้แทนราษฎรและงดใช้รัฐธรรมนูญบางมาตราในเดือนเมษายน พ.ศ. 2476 ซึ่งถือเป็นรัฐประหารครั้งแรกของไทย และเป็นจุดด่างพร้อยของประชาธิปไตยไทยมาจวบจนปัจจุบัน สุดท้ายพระยามโนปกรณปกรณ์นิติธาดาถูกขับออกจากตำแหน่งจาก[[รัฐประหารในประเทศไทย มิถุนายน พ.ศ. 2476|รัฐประหารในปี พ.ศ. 2476]]
 
== ประวัติ ==
 
พระยามโนปกรณปกรณ์นิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์) เกิดเมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2427 ที่เมืองพระนคร เป็นบุตรของนายฮวด กับนางแก้ว หุตะสิงห์ ซึ่งทั้งสองเป็นชาวไทยเชื้อสายจีน ท่านได้เริ่มการศึกษาชั้นต้นที่วัดราชบุรณะ (วัดเลียบ) จากนั้นจึงเข้าศึกษาต่อที่[[โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย]] ในกรุงเทพมหานคร ต่อมาท่านได้ศึกษาวิชากฎหมายที่[[โรงเรียนอัสสัมชัญ]] และโรงเรียนกฎหมายกระทรวงยุติธรรม จนสำเร็จเป็นเนติบัณฑิตสยาม และต่อมาได้ทุนเล่าเรียนหลวงไปศึกษาด้านกฎหมายจนสำเร็จเนติบัณฑิตจากสถาบัน The Middle Temple [[กรุงลอนดอน]] ประเทศอังกฤษ เมื่อปี พ.ศ. 2448 เมื่อสำเร็จเนติบัณฑิตสยามแล้ว ท่านได้เข้ารับราชการในตำแหน่งผู้พิพากษาศาลอุทธรณ์ กระทรวงยุติธรรม จนได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น “หลวงประดิษฐ์พิจารณ์การ” จนกระทั่งได้เป็น “พระสมุหนิติศาสตร์” และ “พระยามโนปกรณปกรณ์นิติธาดา” ในที่สุด
 
พระยามโนปกรณปกรณ์นิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์) ได้เข้ารับราชการในตำแหน่งผู้พิพากษาศาลอุทธรณ์ สังกัดกระทรวงยุติธรรม และนอกจากนี้ยังเป็นอาจารย์สอนวิชากฎหมาย ทำให้ท่านมีลูกศิษย์ลูกหามาก ในเวลาต่อมาท่านได้เป็นอธิบดีศาลฎีกา และได้รับความไว้วางพระราชหฤทัยจาก[[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ให้ดำรงตำแหน่งองคมนตรีที่ปรึกษาราชการในพระองค์มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2461 ต่อมาขณะเกิด[[การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475]] พระยามโนปกรณปกรณ์นิติธาดา กำลังดำรงตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงการคลังในขณะนั้น<ref>{{cite web|url=http://wiki.kpi.ac.th/index.php?title=พระยามโนปกรณปกรณ์นิติธาดา|title=พระยามโนปกรณปกรณ์นิติธาดา|website=สถาบันพระปกเกล้า|accessdate=6 กรกฎาคม 2563}}</ref>
 
== บทบาททางการเมือง ==
{{ดูเพิ่มที่|พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว#การต่อต้านคณะราษฎร}}
พระยามโนปกรณปกรณ์นิติธาดา เป็นผู้ที่จบการศึกษาวิชา[[กฎหมาย]]ระดับเนติบัณฑิต จาก[[ประเทศอังกฤษ]] เป็นข้าราชการ[[ผู้พิพากษา|ตุลาการ]]ผู้ที่ได้ชื่อว่ามือสะอาด ไม่เคยมีเรื่องด่างพร้อยมาตลอดชีวิตการรับราชการ เมื่อมี[[การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475|การเปลี่ยนแปลงการปกครอง]] ท่านได้รับเลือกจาก[[คณะราษฎร]]โดยนาย[[ปรีดี พนมยงค์]] ให้ดำรงตำแหน่ง[[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร]]ชุดแรกที่มีด้วยกันทั้งหมด 70 คน ที่มาจากการแต่งตั้ง และได้รับคัดเลือกให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีคนแรกของประเทศ ด้วยหวังว่าท่านจะเป็นคนกลางประสานความเข้าใจระหว่างกลุ่มผู้นิยมการปกครองแบบเก่า และกลุ่มผู้เปลี่ยนแปลงการปกครอง โดยพระยามโนปกรณปกรณ์นิติธาดาได้ถูกทาบทามตั้งแต่วันแรกที่มีการเปลี่ยนแปลงการปกครอง แต่ทว่ายังไม่ตอบรับเลยในทันที เพียงแต่ขอเวลาไปตัดสินใจหนึ่งคืน และได้ให้คำตอบรับในเช้าวันถัดมา<ref>{{อ้างหนังสือ
|ผู้แต่ง=นายหนหวย
|ชื่อหนังสือ=เจ้าฟ้าประชาธิปกราชันผู้นิราศ
บรรทัด 63:
จากกรณีร่างเค้าโครงเศรษฐกิจ (สมุดปกเหลือง) ของหลวงประดิษฐ์มนูธรรม เขาใช้เล่ห์กลในการปัดเค้าโครงดังกล่าวตกไป และยกพระราชวินิจฉัยของ[[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]] (สมุดปกขาว) ซึ่งไม่มีผู้รับสนองมาอ้าง เขาสมคบกับ[[พระยาทรงสุรเดช]] สมาชิกคณะราษฎรที่แยกตัวออกไป ใช้อำนาจของนายกรัฐมนตรีปิดสภา พร้อมงดใช้[[รัฐธรรมนูญ]]บางมาตรา<ref name="ณัฐพล">{{cite book |last1=ใจจริง |first1=ณัฐพล |title=ขอฝันใฝ่ในฝันอันเหลือเชื่อ: ความเคลื่อนไหวของขบวนการปฏิปักษ์ปฏิวัติสยาม (พ.ศ. 2475-2500) |date=2556 |publisher=ฟ้าเดียวกัน |isbn=9786167667188 |edition=1}}</ref>{{rp|19}} รวมทั้งได้เนรเทศนายปรีดี พนมยงค์ ไป[[ประเทศฝรั่งเศส]]<ref name="ณัฐพล"/>{{rp|21}} และออก[[พระราชบัญญัติป้องกันการกระทำอันเป็นคอมมิวนิสต์]]เป็นฉบับแรกด้วย นับว่าเป็นรัฐประหารครั้งแรกของไทย และเป็นจุดด่างพร้อยของประชาธิปไตยไทยมาจวบจนปัจจุบัน
 
เหตุการณ์ความขัดแย้งเหล่านี้ ได้บานปลายนำไปสู่การ[[รัฐประหารในประเทศไทย มิถุนายน พ.ศ. 2476|รัฐประหารในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2476]] ที่ พันเอก[[พระยาพหลพลพยุหเสนา]] หัวหน้าคณะราษฎรได้รัฐประหารคืน และเนรเทศไปยัง[[ปีนัง]]ด้วย[[รถไฟ]] พร้อมกับเรียกตัวนายปรีดีกลับมาจากฝรั่งเศส ซึ่งพระยามโนปกรณปกรณ์นิติธาดาก็ได้ใช้ชีวิตในบั้นปลายอยู่ที่ปีนัง ตราบจนถึงแก่อสัญกรรม
 
ชีวิตส่วนตัวชื่นชอบในการเดินป่าและล่าสัตว์ป่า<ref>[http://www.dailynews.co.th/newstartpage/index.cfm?page=content&categoryID=326&contentID=23564 นายกฯคนแรก ]</ref>
บรรทัด 69:
=== ครอบครัว ===
[[ไฟล์:Phraya Manopakon Nitithada Memoriam Stone at Wat Pathumwanaram 2019 02.jpg|thumb|อนุสาวรีย์นางสี่หน้า หน้าพระวิหารหลวง วัดปทุมวนาราม]]
[[ไฟล์:Phraya Manopakon Nitithada Memoriam Stone at Wat Pathumwanaram 2019 01.jpg|thumb|อัฐิของพระยามโนปกรณปกรณ์นิติธาดาได้บรรจุไว้ในฐานอนุสาวรีย์นางสี่หน้า ซึ่งก่อนหน้านี้ได้บรรจุเถ้าอังคารของคุณหญิงนิตย์ มโนปกรณปกรณ์นิติธาดา]]
 
พระยามโนปกรณปกรณ์นิติธาดาสมรสครั้งแรกกับคุณหญิงนิตย์ มโนปกรณปกรณ์นิติธาดา (สกุลเดิม สาณะเสน) ธิดาของพระยาวิสูตรโกษา (ฟัก สาณะเสน)
 
คุณหญิงมโนปกรณปกรณ์นิติธาดาได้ตามเสด็จ[[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]]กับ[[สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี]] เมื่อคราวเสด็จประพาสอาณานิคม[[อินโดจีนของฝรั่งเศส]] ระหว่างวันที่ 6 เมษายน - 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2473 จนเมื่อวันที่ 4 พฤษภาคมนั้น ได้เกิดอุบัติเหตุเมื่อรถยนต์ที่เธอนั่งพุ่งชนเข้ากับเสาโทรเลข เนื่องจากความประมาทของพลขับ<ref name="นิต">OSKNETWORK. [http://www.osknetwork.com/modules.php?name=News&file=article&sid=1420 OSK พระยามโนปกรณปกรณ์นิติธาดา 'คนนอกคณะราษฎร' นายกรัฐมนตรีคนแรกของสยามประเทศ]. เรียกดูเมื่อ 5 กันยายน 2555</ref> ทำให้คุณหญิงมโนปกรณปกรณ์นิติธาดาบาดเจ็บสาหัสที่ศีรษะมีบาดแผลฉกรรจ์ ภายหลังคุณหญิงทนพิษบาดแผลไม่ไหวจึงเสียชีวิตลงในเวลา 12.35 นาฬิกา ของวันที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2473<ref name="นิต"/>
 
เมื่อพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงทราบ จึงทรงร่นระยะเวลาพระราชกรณียกิจ และโปรดให้งดงานรื่นเริงต่าง ๆ ระหว่างการเสด็จประพาสไปเสียสิ้น<ref name="นิต"/> ทั้งยังได้สร้างอนุสาวรีย์เสาหินรูปหน้านางสี่หน้าเพื่อเก็บอังคารของคุณหญิงที่[[วัดปทุมวนาราม]]<ref name="นิต"/>
 
หลังการเสียชีวิตของคุณหญิงมโนปกรณปกรณ์นิติธาดา พระยามโนปกรณปกรณ์นิติธาดาจึงใช้ชีวิตคู่กับ เชย หุตะสิงห์<ref name="นิต"/>และมีบุตรคนเดียวคือ ตุ้ม หุตะสิงห์<ref name="นิต"/>
 
== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ==
บรรทัด 85:
{{ร.ด.ม.(ศ)|2455}}<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2455/D/2445.PDF พระราชทานเหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา]</ref>
{{ร.จ.พ.|2472}}<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2472/D/3689.PDF พระราชทานเหรียญจักรพรรดิมาลา]</ref>
{{ว.ป.ร.3|2462}}<ref name = ":2462">ราชกิจจานุเบกษา,[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2462/D/537_2.PDF พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์] หน้า ๕๓๘ เล่ม ๓๖, ๒๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๖๒</ref>
{{ป.ป.ร.4|2469}}<ref name = ":2469">[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2469/D/4298.PDF พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์และเหรียญ]</ref>
 
บรรทัด 99:
=== งานศึกษาที่เกี่ยวข้อง ===
 
*นครินทร์ เมฆไตรรัตน์. (2560). พระยามโนปกรณปกรณ์นิติธาดากับการเมืองสยามในปี พ.ศ. 2475. ''ความคิด ความรู้ และอำนาจในการเมืองในการปฏิวัติสยาม 2475'' (น. 167-191). พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: ฟ้าเดียวกัน.
 
=== เว็บไซต์ ===
บรรทัด 107:
*[http://www.thaiembdc.org/bio/pms/manopakorn.htm ประวัติที่เว็บไซต์สถานทูตไทย ณ กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. ประเทศสหรัฐอเมริกา] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20041109082821/http://www.thaiembdc.org/bio/pms/manopakorn.htm |date=2004-11-09 }}
*[http://www.parliamentjunior.in.th/teen/knowledge/politics_rattanakosin1.asp ประวัติที่เว็บไซต์รัฐสภาสำหรับเยาวชน-ยุวชนรัฐสภา] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20061217121116/http://www.parliamentjunior.in.th/teen/knowledge/politics_rattanakosin1.asp |date=2006-12-17 }}
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Phraya Manopakorn Nititada|พระยามโนปกรณปกรณ์นิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์)}}
{{เริ่มกล่อง}}
{{สืบตำแหน่ง
บรรทัด 116:
| ตำแหน่ง = [[นายกรัฐมนตรีของประเทศไทย|นายกรัฐมนตรีของประเทศไทย]]
| จำนวนตำแหน่ง =
| ก่อนหน้า = [[พระยามโนปกรณปกรณ์นิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์)|พระยามโนปกรณปกรณ์นิติธาดา</br><small> (ก้อน หุตะสิงห์) </small>]]</br>(ในฐานะประธานคณะกรรมการราษฎร)
| จำนวนก่อนหน้า =
| ถัดไป = [[พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน)|พระยาพหลพลพยุหเสนา</br><small> (พจน์ พหลโยธิน) </small>]]
บรรทัด 131:
| ก่อนหน้า = ''สถาปนาตำแหน่ง''
| จำนวนก่อนหน้า =
| ถัดไป = [[พระยามโนปกรณปกรณ์นิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์)|พระยามโนปกรณปกรณ์นิติธาดา</br><small> (ก้อน หุตะสิงห์) </small>]]</br>(ในฐานะนายกรัฐมนตรี)
| จำนวนถัดไป =
| ช่วงเวลา = [[28 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2475]] – [[10 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2475]]
บรรทัด 144:
| ก่อนหน้า = [[พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุภโยคเกษม|พระวรวงศ์เธอ</br> พระองค์เจ้าศุภโยคเกษม]]
| จำนวนก่อนหน้า =
| ถัดไป = [[พระยามโนปกรณปกรณ์นิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์)|พระยามโนปกรณปกรณ์นิติธาดา</br><small> (ก้อน หุตะสิงห์) </small>]]</br>(ในฐานะรัฐมนตรีว่าการ)
| จำนวนถัดไป =
| ช่วงเวลา = [[29 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2475]] – [[10 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2475]]
บรรทัด 155:
| ตำแหน่ง = [[รายนามเสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง|รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ]]
| จำนวนตำแหน่ง =
| ก่อนหน้า = [[พระยามโนปกรณปกรณ์นิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์)|พระยามโนปกรณปกรณ์นิติธาดา</br><small> (ก้อน หุตะสิงห์) </small>]]</br>(ในฐานะเสนาบดี)
| จำนวนก่อนหน้า =
| ถัดไป = [[เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา)|เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ</br><small> (จิตร ณ สงขลา) </small>]]
บรรทัด 170:
{{ปลัดกระทรวงพาณิชย์ของไทย}}
 
{{เรียงลำดับ|มโนปกรณปกรณ์นิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์)}}
{{เกิดปี|2427}}
{{ตายปี|2491}}
[[หมวดหมู่:พระยามโนปกรณปกรณ์นิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์)| ]]
[[หมวดหมู่:นักการเมืองไทย]]
[[หมวดหมู่:นายกรัฐมนตรีไทย|มโนปกรณปกรณ์นิติธาดา]]
[[หมวดหมู่:รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังไทย]]
[[หมวดหมู่:บรรดาศักดิ์ชั้นพระยา|มโนปกรณปกรณ์นิติธาดา]]
[[หมวดหมู่:บุคคลจากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย|มโนปกรณปกรณ์นิติธาดา]]
[[หมวดหมู่:บุคคลจากโรงเรียนอัสสัมชัญ]]
[[หมวดหมู่:ผู้นำที่พ้นตำแหน่งจากรัฐประหาร]]