ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา (ประเทศไทย)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Robootty (คุย | ส่วนร่วม)
การคำนวณอัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขของ Robootty (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย InternetArchiveBot
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
บรรทัด 56:
 
กรณีเงินได้พึงประเมินที่ไม่อาจแยกได้อย่างชัดแจ้งว่าเป็นของสามี หรือภริยาฝ่ายละจำนวนเท่าใดตามมาตรา 40(2) - 40(8) ให้แบ่งสัดส่วนคนละ 50% ของเงินได้ประเภทนั้น เฉพาะเงินได้ตามมาตรา 40 (8) จากการขายสินค้า การพาณิชย์ การขนส่ง ฯลฯ ให้สามีภรรยาเลือกแบ่งเป็นของแต่ละฝ่ายตามส่วนที่ตกลงกันก็ได้ แต่รวมกันต้องไม่น้อยกว่าเงินได้พึงประเมินที่ได้รับ ถ้าตกลงกันไม่ได้ให้แบ่งกันฝ่ายละกึ่ง ส่วนสิทธิประโยชน์ที่สามีภริยาได้รับเพิ่ม กรณีการหักค่าลดหย่อน มี 3 รายการ คือ ค่าลดหย่อนบุตรได้คนละ 15,000 บาท ค่าลดหย่อนการศึกษาบุตรได้คนละ 2,000 บาท และค่าลดหย่อนดอกเบี้ยกู้ยืมซื้อที่อยู่อาศัย สามีและภริยาต่างฝ่ายต่างกู้ยืม มีเงินได้ทั้ง 2 ฝ่าย ต่างฝ่ายหักได้คนละ 100,000 บาท <ref>http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1359113043&grpid=&catid=05&subcatid=0501</ref>
 
 
== การคำนวณอัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ==
เมื่อรู้แล้วว่าจะต้องนำค่าใช้จ่ายและค่าลดหย่อนอะไรบ้าง มาช่วยในการลดหย่อนภาษีของตนเอง จากนั้นจึงเข้าสู่กระบวนการคำนวณตามสูตรการคำนวณภาษี ซึ่งวิธีการคำนวณภาษีมีอยู่ 2 แบบ คือ
 
* (รายได้ – ค่าใช้จ่าย – ค่าลดหย่อน) x อัตราภาษี = ภาษีที่ต้องจ่าย (วิธีนี้สำหรับรายได้ที่ไม่ถึง 1 ล้านบาทต่อปี) หลังจากนำรายได้หักลบด้วยค่าใช้จ่ายและค่าลดหย่อนแล้ว ให้นำยอดตัวเลขที่ได้มาคูณกับอัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา แบบขั้นบันไดดังนี้
** เงินได้ประเภทที่ 1 ได้แก่ เงินเดือน  โบนัส สามารถหักแบบเหมา 50% แต่เมื่อรวมหักค่าใช้จ่ายจากเงินประเภทที่ 1 และประเภทที่ 2 แล้ว ต้องไม่เกิน 1000,000 บาท  
** เงินได้ประเภทที่ 2 ได้แก่ ค่าจ้างทั่วไป สามารถหักแบบเหมา 50% แต่เมื่อรวมหักค่าใช้จ่ายจากเงินประเภทที่ 1 และประเภทที่ 2 แล้ว ต้องไม่เกิน 1000,000 บาท  
** เงินได้ประเภทที่ 3 ได้แก่ ค่าลิขสิทธิ์และสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา เฉพาะค่าลิขสิทธิ์ ค่ากู๊ดวิลล์และสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา หักแบบเหมา 50% แต่ไม่เกิน 1000,000 บาท หรือหักตามจริง
** เงินได้ประเภทที่ 4 ได้แก่ ดอกเบี้ย เงินปันผลจากหุ้น และ cryptocurrency ไม่สามารถหักค่าใช้จ่ายได้
** เงินได้ประเภทที่ 5 ได้แก่ ค่าเช่า หักแบบเหมา 10-30% หรือหักตามจริง
** เงินได้ประเภทที่ 6 ได้แก่ ค่าวิชาชีพอิสระ หักแบบเหมา 30-60% หรือหักตามจริง
** เงินได้ประเภทที่ 7 ได้แก่ ค่ารับเหมาทั้งค่าแรงและค่าของ หักแบบเหมา 60% หรือหักตามจริง
** เงินได้ประเภทที่ 8 ได้แก่ เงินอื่นๆ ที่ไม่เข้าพวก เช่นรายได้จากการขายของออนไลน์ หักแบบเหมา 60% หรือหักตามจริง (ยกเว้นกรณีการขายอสังหาริมทรัพย์ที่ได้มาโดยทางอื่นที่ไม่ได้มุ่งหากำไร)
 
== อ้างอิง ==
เส้น 76 ⟶ 62:
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://www.rd.go.th/publish/309.0.html ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา กรมสรรพากร]
*[https://inflowaccount.co.th/pit-planning/ ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา]
 
[[หมวดหมู่:ภาษี]]