ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ยุทธการที่มอสโก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Matable (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{Infobox Military Conflict
| conflict = ยุทธการที่มอสโก
| partof = [[แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)|แนวรบด้านตะวันออก]]ใน[[สงครามโลกครั้งที่สอง]]
| image = [[ไฟล์:RIAN archive 887721 Defense of Moscow.jpg|300px]]
บรรทัด 19:
{{การทัพ แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)}}
 
'''ยุทธการที่มอสโก''' เป็นชื่อการทัพทางทหารที่นักประวัติศาสตร์โซเวียตตั้งโดยหมายถึงประกอบไปด้วยสองช่วงเวลาของการสู้รบที่มีความนัยสำคัญทางยุทธศาสตร์สองช่วงบนพื้นที่จากระยะทาง 600 กิโลเมตรบน(370 ไมล์) เขตภาคของ[[แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)|แนวรบด้านตะวันออก]]ใน[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] เกิดขึ้นระหว่างเดือนตุลาคม ค.ศ. 1941 ถึงและเดือนมกราคม ค.ศ. 1942 ความพยายามตั้งรับในการป้องกันของโซเวียตทำให้การโจมตีของฮิตเลอร์ต่อ[[กรุงมอสโก]] เมืองหลวงและเมืองขนาดใหญ่ที่สุดของ[[สหภาพโซเวียต]] ไร้ผลไม่ประสบความสำเร็จ มอสโกเป็นหนึ่งในวัตถุประสงค์เป้าหมายหลักทางทหารและการเมืองหลักของกำลังสำหรับ[[ฝ่ายอักษะ|กองกำลังฝ่ายอักษะ]]ใน[[ปฏิบัติการบาร์บารอสซาร็อสซา|การรุกรานบุกครองสหภาพโซเวียต]]ของพวกเขา
 
การรุกทางยุทธศาสตร์ของเยอรมัน รหัสนามว่า '''ปฏิบัติการไต้ฝุ่น''' เรียกร้องสำหรับการรุก[[ขบวนรูปแบบก้ามปู|แบบก้ามปูสองด้าน]] ด้านหนึ่งไปทางเหนือของมอสโกเข้าปะทะกับ[[แนวรบคาลีนิน]]โดย[[กองทัพยานเกราะที่ 3]] และ[[กองทัพยานเกราะที่ 4|ที่ 4]] พร้อมกับตัด[[เส้นทางรถไฟเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก-มอสโก|เส้นทางรถไฟจากมอสโก-เลนินกราด]] และอีกด้านหนึ่งไปทางใต้ของ[[แคว้นมอสโก]]เข้าปะทะกับ[[แนวรบตะวันตก(สหภาพโซเวียต)|แนวรบตะวันตก]] ทางใต้ของ[[ตูลา (รัสเซีย)|ตูลา]] โดย[[กองทัพยานเกราะที่ 2]] ในขณะที่กองทัพยานเกราะที่ 4 ได้เข้ารุกโดยตรงสู่มอสโกจากตะวันตก
[[ไฟล์:RIAN archive 375 Nazis surrender.jpg|thumbnail|กองทหารเวร์มัคท์ยอมจำนน]]
 
ในช่วงแรก กองกำลังโซเวียตได้ดำเนินการป้องกันทางยุทธศาสตร์ของ[[แคว้นมอสโก]]โดยสร้างแนวป้องกันทางลึกสามแนว จัดตั้งกองกำลังสำรองขึ้นมาใหม่ และนำกองกำลังมาจาก[[มณฑลทหารบกไซบีเรีย|มณฑลทหารบกของไซบีเรีย]]และ[[มณฑลทหารบกตะวันออกไกล|ตะวันออกไกล]] เมื่อการรุกของเยอรมันได้หยุดชะงักลง การรุกตอบโต้กลับทางยุทธศาสตร์ของโซเวียตและปฏิบัติการของการรุกขนาดเล็กได้บีบบังคับให้กองทัพเยอรมันได้กลับเข้าสู่ตำแหน่งรอบเมืองออร์ยอล เวียซมาและ[[วีเต็บสค์]] และเกือบที่จะล้อมกองทัพเยอรมันทั้งสามไว้ได้ มันเป็นความล้มเหลวครั้งใหญ่สำหรับเยอรมัน และจุดสิ้นสุดของความเชื่อของพวกเขาในชัยชนะของเยอรมันเหนือสหภาพโซเวียตอย่างรวดเร็ว<ref>{{cite book|last1=Shirer|first1=William L.|title=The Rise and Fall of the Third Reich|pages=275–87|chapter=24, Swedish (Book III)}}<!-- data re this cite were transferred from a mal-formed cite to Shirer's great work -- it needs double checking--></ref> อันเป็นผลลัพธ์มาจากการรุกที่ล้มเหลว จอมพล [[วัลเทอร์ ฟ็อน เบราคิทช์]] ถูกสั่งปลดออกจากตำแหน่งผู้บัญชาการทหารสูงสุดแห่ง[[กองทัพบกเยอรมัน (แวร์มัคท์)|กองทัพบกเยอรมัน]] โดยฮิตเลอร์ได้เข้ามาแทนที่ในตำแหน่งของเขา
การรุกทางยุทธศาสตร์ของเยอรมนีชื่อว่า '''ปฏิบัติการไต้ฝุ่น''' มีการวางแผนให้ดำเนินการรุกสองง่าม ด้านหนึ่งไปทางเหนือของมอสโกต่อแนวรบคาลีนิน โดยกลุ่มแพนเซอร์ที่ 3 และที่ 4 พร้อม ๆ กับการตัดขาดทางรถไฟสายมอสโก-เลนินกราด และอีกด้านหนึ่งไปทางใต้ของมณฑลมอสโกต่อแนวรบตะวันตก ทางใต้ของตูลา โดยกองทัพแพนเซอร์ที่ 2 ขณะที่กองทัพที่ 4 บุกไปยังมอสโกโดยตรงจากทางตะวันตก แผนปฏิบัติการเยอรมนีต่างหาก ชื่อ ปฏิบัติการโวทัน ถูกรวมอยู่ในการรุกระยะสุดท้ายของเยอรมนีด้วย
 
== เบื้องหลัง ==
ขั้นต้น กำลังโซเวียตดำเนินการป้องกันทางยุทธศาสตร์ต่อมณฑลมอสโกโดยสร้างแนวป้องกันทางลึกขึ้นสามแนว และจัดวางกองทัพหนุนซึ่งเพิ่งรวบรวมขึ้นใหม่ เช่นเดียวกับนำกำลังพลจากจังหวัดทหารบกไซบีเรียและตะวันออกไกล ต่อมา เมื่อการรุกของเยอรมนีหยุดชะงัก ฝ่ายโซเวียตดำเนินการตีโต้ตอบทางยุทธศาสตร์และปฏิบัติการรุกในระดับเล็กกว่าเพื่อบีบให้กองทัพเยอรมันล่าถอยกลับไปยังตำแหน่งรอบนครออร์ยอล เวียซมาและวีเตบสก์ เกือบล้อมกองทัพเยอรมันได้ถึงสามกองทัพไปพร้อมกันนั้นด้วย
{{บทความหลัก|ปฏิบัติการบาร์บาร็อสซา|}}
[[File:Eastern Front 1941-06 to 1941-12.png|thumb|upright=1.35|แนวรบด้านตะวันออกในช่วงเวลาของยุทธการที่มอสโก: {{legend|#fff8d5|การรุกช่วงแรกของแวร์มัคท์ – ถึง 9 กรกฏาคม ค.ศ. 1941|size=50%}}
{{legend|#ffd2b9|การรุกภายหลัง – ถึง 1 กันยายน ค.ศ. 1941|size=50%}}
{{legend|#ebd7ff|การโอบล้อมและยุทธการที่เคียฟ ถึง 9 กันยายน ค.ศ. 1941|size=50%}}
{{legend|#ccffcd|การรุกครั้งสุดท้ายของแวร์มัคท์ – ถึง 5 ธันวาคม ค.ศ. 1941|size=50%}}]]
[[ปฏิบัติการบาร์บาร็อสซา]] แผนการบุกครองของเยอรมัน เรียกร้องสำหรับการเข้ายึดครองกรุงมอสโกภายในสี่เดือน เมื่อวันที่ 22 มิถุนายน ค.ศ. 1941 กองกำลังฝ่ายอักษะได้เข้ารุกรานสหภาพโซเวียต ได้ทำลาย[[กองทัพอากาศโซเวียต]]ส่วนใหญ่บนภาคพื้นดิน และรุกเข้าลึกสู่ดินแดนสหภาพโซเวียตโดยใช้กลยุทธ์[[บลิทซ์ครีค]]เพื่อทำลายล้างกองทัพโซเวียตทั้งหมด [[กองทัพกลุ่มเหนือ]]ของเยอรมันได้มุ่งหน้าสู่เลนินกราด [[กองทัพกลุ่มใต้]]เข้าควบคุม[[ยูเครน]] และ[[กองทัพกลุ่มกลาง]]เข้ารุกสู่มอสโก เดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1941 กองทัพกลุ่มกลางได้ข้าม[[แม่น้ำนีเปอร์]] ระหว่างเส้นทางสู่มอสโก{{sfn|Bellamy|2007|p=243}}
 
เมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม ค.ศ. 1941 กองทัพเยอรมันได้เข้ายึดครอง[[ยุทธการที่สโมเลนสค์ (ค.ศ. 1941)|สโมเลนสค์]]ซึ่งเป็นฐานที่มั่นสำคัญบนถนนสู่มอสโก{{sfn|Bellamy|2007|p=240}} ในระยะนี้ แม้ว่ามอสโกจะดูเปราะบาง แต่การรุกเข้าสู่เมืองจะเป็นการเปิดเผยปีกกองทัพของเยอรมัน เพื่อจัดการกับความเสี่ยงเหล่านี้ และเพื่อพยายามรักษาแหล่งทรัพยาการอย่างอาหารและแร่ธาตุของยูเครน ฮิตเลอร์ได้ออกคำสั่งให้การโจมตีหันไปทางเหนือและใต้ และกำจัดกองกำลังโซเวียตที่[[เลนินกราด]]และ[[เคียฟ]]<ref name="Wilt">Alan F. Wilt. "Hitler's Late Summer Pause in 1941". ''Military Affairs'', Vol. 45, No. 4 (December 1981), pp.&nbsp;187–91</ref> สิ่งนี้ทำให้การรุกเข้าสู่มอสโกของเยอรมันนั้นล่าช้า เมื่อการรุกนั้นได้กลับมาดำเนินต่อในวันที่ 30 กันยายน ค.ศ. 1941 กองทัพเยอรมันได้อ่อนกำลังลง ในขณะที่โซเวียตได้จัดตั้งกองกำลังขึ้นมาใหม่เพื่อปกป้องเมือง<ref name="Wilt" />
[[ไฟล์:Karte_-_Kesselschlachte_bei_Vjazma_und_Brjansk_1941.png|thumb|แผนที่ของการโอบล้อมทั้งสองด้านที่เวียซมา-บรืย์อันสค์ (ในเยอรมัน).]]
 
== การรุกของเยอรมันในช่วงแรก (30 กันยายน - 10 ตุลาคม) ==
 
=== แผนการ ===
{{โครง-ส่วน}}
 
=== ยุทธการที่เวียซมาและบรืย์อันสค์ ===
{{โครง-ส่วน}}
 
== แนวป้องกัน Mozhaisk (13–30 ตุลาคม) ==
{{โครง-ส่วน}}
 
== แวร์มัคท์รุกเข้าสู่มอสโก (1 พฤศจิกายน-5 ธันวาคม) ==
{{โครง-ส่วน}}
 
== การรุกตอบโต้กลับของโซเวียต ==
{{โครง-ส่วน}}
 
== ภายหลังสงคราม ==
{{โครง-ส่วน}}
 
== มรดกตกทอด ==
{{โครง-ส่วน}}
 
== การสูญเสีย ==
{{โครง-ส่วน}}
 
== อ้างอิง ==