ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รถไฟฟ้า ร.ฟ.ท."

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mr.BuriramCN (คุย | ส่วนร่วม)
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 0 sources and tagging 1 as dead.) #IABot (v2.0.8.1
บรรทัด 83:
หลังจากเริ่มดำเนินการมาตั้งแต่วันที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2553 ในวันที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2555 [[สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ|คณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ]] ได้เห็นชอบที่จะยก บริษัท รถไฟฟ้า ร.ฟ.ท. จำกัด ออกมาเป็นรัฐวิสาหกิจแห่งใหม่ โดยจัดให้อยู่ในสังกัด[[กระทรวงคมนาคม]] โดยมี[[กระทรวงการคลัง]]ถือหุ้น 100% เต็ม ทั้งนี้กระทรวงการคลังมีประสงค์เพื่อที่จะปรับสภาพการเงินภายในบริษัทให้คล่องตัวมากขึ้น และเพื่อให้บริษัทสามารถเข้าแข่งขันในเส้นทางกับเอกชนรายอื่น ๆ ได้
 
ปัจจุบันมีพลเอก ธวัชชัย สมุทรสาคร เป็นประธานกรรมการบริหาร<ref>[http://www.srtet.co.th/th/12_organize/01_org_bod.html คณะกรรมการ]{{ลิงก์เสีย|date=กันยายน 2021 |bot=InternetArchiveBot |fix-attempted=yes }}</ref>
 
ต่อมาในวันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 คณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจเห็นชอบให้พัฒนาบริษัท รถไฟฟ้า ร.ฟ.ท. จำกัด เป็นบริษัทลูกของการรถไฟแห่งประเทศไทย เพื่อเดินรถและซ่อมบำรุงโครงการ[[รถไฟฟ้าชานเมือง สายสีแดง|รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดง]] ตามที่[[กระทรวงคมนาคม]]เสนอ โดยให้ปรับปรุงแผนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและความสามารถในการหารายได้และทำกำไร และให้กระทรวงคมนาคมแต่งตั้งคณะกรรมการกำกับติดตามการดำเนินโครงการให้มีประสิทธิภาพได้มาตรฐานเทียบเท่าเอกชน เป็นไปตามแผนการดำเนินงานและตัวชี้วัดที่กำหนด โดยไม่เป็นภาระของภาครัฐในอนาคต<ref>{{Cite web|url=https://www.prachachat.net/finance/news-327109|title=คนร.ไฟเขียวตั้งบริษัทลูกของ รฟท. 2 บริษัท เพื่อบริหารสินทรัพย์และเดินรถไฟฟ้าสายสีแดง|author=[[ประชาชาติธุรกิจ]]|website=www.prachachat.net|date=15 พฤษภาคม 2562|accessdate=24 มีนาคม 2563}}</ref>