ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คำประกาศอิสรภาพสหรัฐ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Narutzy (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Matable (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{Expand language|langcode=en|otherarticle=United States Declaration of Independence|lang=ภาษาอังกฤษ}}
 
[[ไฟล์:United States Declaration of Independence.jpg|thumb|300px|คำประกาศอิสรภาพสหรัฐ]]
[[ไฟล์:Declaration of Independence (1819), by John Trumbull.jpg|300px|thumb|ภาพวาดคณะกรรมการร่างคำประกาศอิสรภาพยื่นร่างให้กับรัฐสภาอเมริกา โดยภาพนี้พบได้ในธนบัตรสองดอลลาร์ด้วย]]
 
'''คำประกาศอิสรภาพแห่งสหรัฐ''' ({{lang-en|United States Declaration of Independence}}) เป็นคำแถลงการณ์ที่ถูกยอมรับโดยการประชุมของ[[สภาคองเกรสภาคพื้นทวีปครั้งที่สอง]]ในเมือง[[ฟิลาเดลเฟีย]] เพนซิลเวเนีย เมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม ค.ศ. 1776 คำประกาศดังกล่าวได้อธิบายว่า เหตุใดที่สิบสามอาณานิคมซึ่งทำสงครามกับ[[ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่]]จึงได้ถือว่าพวกตนเป็น[[รัฐอธิปไตย]]เอกราชทั้งสิบสามรัฐ ไม่ได้อยู่ภายใต้การปกครองของบริติชอีกต่อไป<ref>{{Cite journal|last=Wich|first=Scott|date=July 2021|title=Lessons from the Nation's Founding|url=https://onlinelibrary.wiley.com/doi/10.1002/mare.30723|journal=Management Report for Nonunion Organizations|language=en|volume=44|issue=7|pages=3–4|doi=10.1002/mare.30723|issn=0745-4880}}</ref> ด้วยคำประกาศนี้ รัฐใหม่เหล่านี้ได้เริ่มก้าวแรกร่วมกันในการก่อตั้ง[[สหรัฐ|สหรัฐอเมริกา]] คำประกาศนี้ได้ถูกลงนามโดยผู้แทนจากนิวแฮมป์เชียร์ อ่าวแมสซาชูเซตส์ โรดไอแลนด์ คอนเนตทิคัต นิวยอร์ก นิวเจอร์ซีย์ เพนซิลเวเนีย แมริแลนด์ เดลาแวร์ เวอร์จิเนีย นอร์ทแคโรไลนา เซาท์แคโรไลนา และจอร์เจีย
'''คำประกาศอิสรภาพแห่งสหรัฐ''' ({{lang-en|United States Declaration of Independence}}) เป็นแถลงการณ์ซึ่ง[[สภาภาคพื้นทวีป]]ลงมติยอมรับเมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม ค.ศ. 1776 ซึ่งมีใจความว่า [[สิบสามอาณานิคม]] ซึ่งในเวลานั้นกำลังทำสงครามอยู่กับ[[ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่]]เป็นรัฐเอกราชแล้ว และดังนั้น ไม่ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของ[[จักรวรรดิอังกฤษ]]อีกต่อไป<ref name="whatis">{{cite web|url=http://technotes.whw1.com/all/78-differences-days-of-memorial-veterans-independence-and-labor#What-is-Independence-Day-in-USA|title=What is Independence Day in USA?|publisher=Tech Notes|date=July 2, 2015|accessdate=July 2, 2015|archive-url=https://web.archive.org/web/20190622164753/http://technotes.whw1.com/all/78-differences-days-of-memorial-veterans-independence-and-labor#What-is-Independence-Day-in-USA|archive-date=June 22, 2019|url-status=dead}}</ref> คำประกาศอิสรภาพส่วนใหญ่เขียนขึ้นโดย[[โทมัส เจฟเฟอร์สัน]] อธิบายอย่างเป็นทางการว่าเหตุใดสภาจึงลงมติเมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม เพื่อประกาศอิสรภาพจากบริเตนใหญ่ ราวหนึ่งปีหลังจากการปะทุของ[[สงครามปฏิวัติอเมริกัน]] วันเกิดของ[[สหรัฐอเมริกา]] หรือวันประกาศเอกราช มีการเฉลิมฉลองขึ้นเมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม ซึ่งตรงกับวันครบรอบที่คำประกาศอิสรภาพได้รับการเห็นชอบโดยสภา<ref name="whatis" />
 
[[การลงมติลี]]สำหรับเอกราชได้รับการอนุมัติโดยสภาคองเกรสภาคพื้นทวีปครั้งที่สอง เมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม โดยปราศจากเสียงคัดค้าน [[คณะกรรมทั้งห้า]]ได้ร่างคำประกาศฉบับนี้ให้พร้อม เมื่อสภาคองเกรสได้ลงมติเพื่อเอกราช [[จอห์น แอดัมส์]]  ผู้นำในการผลักดันให้ได้รับเอกราช ได้ชักชวนให้คณะกรรมการคัดเลือก[[ทอมัส เจฟเฟอร์สัน]] ในการจัดทำร่างต้นฉบับของเอกสาร<ref name="digitalhistory">[http://www.digitalhistory.uh.edu/active_learning/explorations/revolution/revolution_declaringindependence.cfm "Declaring Independence"] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20150504103803/http://www.digitalhistory.uh.edu/active_learning/explorations/revolution/revolution_declaringindependence.cfm|date=May 4, 2015}}, ''Revolutionary War'', Digital History, University of Houston. From Adams' notes: "Why will you not? You ought to do it." "I will not." "Why?" "Reasons enough." "What can be your reasons?" "Reason first, you are a Virginian, and a Virginian ought to appear at the head of this business. Reason second, I am obnoxious, suspected, and unpopular. You are very much otherwise. Reason third, you can write ten times better than I can." "Well," said Jefferson, "if you are decided, I will do as well as I can." "Very well. When you have drawn it up, we will have a meeting."</ref> ซึ่งสภาคองเกรสได้แก้ไขเพื่อผลิตขึ้นเป็นฉบับสุดท้าย คำประกาศดังกล่าวเป็นการอธิบายอย่างเป็นทางการว่า เหตุใดที่สภาคองเกรสจึงลงมติในการประกาศเอกราชจากบริเตนใหญ่ มากกว่าหนึ่งปีหลังจากการปะทุขึ้นของสงครามปฏิวัติอเมริกา แอดัมส์ได้เขียนจดหมายไปถึงอาบิเกล ภรรยาของเขาว่า "วันที่สองของเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1776 จะเป็นช่วงเวลาที่น่าจดจำที่สุดในประวัติศาสตร์ของอเมริกา"<ref>{{Cite web|title=Letter from John Adams to Abigail Adams, 3 July 1776, "Had a Declaration..."|url=http://www.masshist.org/digitaladams/archive/doc?id=L17760703jasecond|url-status=live|archive-url=https://web.archive.org/web/20160411053436/https://www.masshist.org/digitaladams/archive/doc?id=L17760703jasecond|archive-date=April 11, 2016|access-date=April 18, 2016|website=www.masshist.org}}</ref> - แม้ว่าวันประกาศอิสรภาพจะ[[วันประกาศอิสรภาพ (สหรัฐ)|มีการเฉลิมฉลองในวันที่ 4 กรกฏาคม]] วันที่มีการใช้คำของคำประกาศอิสรภาพซึ่งได้รับการอนุมัติ
 
ภายหลังจากการให้สัตยาบันข้อความ เมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม สภาคองเกรสได้ออกคำประกาศอิสรภาพในรูปแบบต่าง ๆ ตอนแรกได้ถูกตีพิมพ์ขึ้นเป็นดันแลป บรอดไซด์ที่ถูกพิมพ์ออกมาซึ่งได้เผยแพร่อย่างกว้างขวางและสาธารณชนได้อ่านกันทั่วหน้า สำเนาต้นฉบับที่ถูกใช้สำหรับการตีพิมพ์ฉบับนี้ได้สูญหายและอาจจะเป็นสำเนาที่อยู่ในมือของทอมัส เจฟเฟอร์สัน<ref name=":0">Boyd (1976), ''The Declaration of Independence: The Mystery of the Lost Original'', p. 438.</ref> ร่างต้นฉบับของเจฟเฟอร์สันได้ถูกเก็บรักษาไว้ที่[[หอสมุดรัฐสภา]] ซึ่งเสร็จสมบูรณ์ด้วยการเปลี่ยนแปลงที่ถูกทำขึ้นโดยจอห์น แอดัมส์และ[[เบนจามิน แฟรงคลิน]] เช่นเดียวกับบันทึกของเจฟเฟอร์สันได้ถูกเปลี่ยนแปลงที่ถูกทำขึ้นโดยสภาคองเกรส คำประกาศที่เป็นฉบับที่รู้จักกันดีที่สุดคือ สำเนาที่มีลายเซ็นต์ ซึ่งถูกจัดแสดงไว้ที่หอจดหมายเหตุแห่งชาติในกรุงวอชิงตัน ดี. ซี. และได้รับการยกย่องว่าเป็นเอกสารทางการ สำเนาฉบับแบบคัดลายมือ(คัดลอกด้วยลายมืออันประณีตบรรจงและเสร็จสมบูรณ์) ซึ่งได้รับคำสั่งโดยสภาคองเกรส เมื่อวันที่ 19 กรกฏาคม และถูกลงนามเป็นส่วนใหญ่ เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม<ref>{{cite press release|url=https://www.archives.gov/press/press-releases/2005/nr05-83.html|title=Did You Know ... Independence Day Should Actually Be July 2?|publisher=National Archives and Records Administration|date=June 1, 2005|access-date=July 4, 2012|archive-url=https://web.archive.org/web/20120626044314/http://www.archives.gov/press/press-releases/2005/nr05-83.html|archive-date=June 26, 2012|url-status=live}}</ref><ref>''[https://www.archives.gov/exhibits/charters/declaration_history.html The Declaration of Independence: A History] {{Webarchive|url=https://www.webcitation.org/5mr8D8v2a?url=http://www.archives.gov/exhibits/charters/declaration_history.html|date=January 17, 2010}}'', The U.S. National Archives and Records Administration.</ref>
 
แหล่งที่มาและการตีความของคำประกาศฉบับนี้เป็นหัวข้อของการสืบสวนทางวิชาการมากมาย คำประกาศอิสรภาพดังกล่าวอธิบายได้ให้เหตุผลอันสมควรถึงความเป็นเอกราชของสหรัฐอเมริกาโดยลำดับความเดือดร้อนการลงรายชื่อของอาณานิคมจากทั้งยี่สิบเจ็ดที่ไม่พอใจต่อ[[สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร|พระเจ้าจอร์จที่ 3]] และโดยการยืนยัน[[สิทธิธรรมชาติ]] ตลอดจนและ[[สิทธิทางกฏหมาย]]บางประการ รวมทั้ง[[สิทธิในการปฏิวัติ]] จุดประสงค์ดั้งเดิมของเอกสารในการเพื่อประกาศอิสรภาพ แต่ทว่าและการอ้างอิงถึงข้อความของการในคำประกาศอิสรภาพเดิมได้ถูกปฏิเสธไปหลังจากนั้นมีน้อยในปีต่อมา [[การปฏิวัติอเมริกันอับราฮัม ลินคอล์น]] แต่ความสำเร็จของมันได้เพิ่มมากขึ้นตามกาลเวลาทำให้มันกลายเป็นหัวใจสำคัญของนโยบายและวาทศิลป์ของเขา ดังเช่นในการกล่าวคำปราศัยที่เกตตีสเบิร์ก(Gettysburg Address) ปี ค.ศ. 1863<ref>{{Cite book|last1=Hirsch|first1=David|title=The ultimate guide to the Declaration of Independence|last2=Van Haften|first2=Dan|date=2017|isbn=978-1-61121-374-4|edition=First|location=El Dorado Hills, California|oclc=990127604}}</ref> นับตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา กลายเป็นคำแถลงการณ์ต่อ[[สิทธิมนุษยชน]]ที่เป็นที่รู้จักกันดี โดยเฉพาะอย่างยิ่งประโยคที่สอง อัน:{{quote|'''เราถือว่าความจริงต่อไปนี้เป็นข้อความสิ่งที่ครอบคลุมถึงประจักษ์แจ้งอยู่ในตัวเอง นั่นคือ มนุษย์ทุกคนถูกสร้างขึ้นมาอย่างเท่าเทียมกัน และพระผู้สร้างได้มอบสิทธิบางประการที่จะเพิกถอนมิได้ไว้ให้แก่มนุษย์ปัจเจกชน: ในบรรดาสิทธิเหล่านั้นได้แก่ [[ชีวิต เสรีภาพและการเสาะแสวงหาความสุข]]'''}}
 
คำประกาศดังกล่าวฉบับนี้ได้ถูกจัดทำขึ้นเพื่อรับประกันสิทธิที่เท่าเทียมกันสำหรับทุกคน และหากมันมีไว้สำหรับส่วนใดส่วนหนึ่งของบุคคลเพียงคนเดียว สภาคองเกรสคงจะปล่อยทิ้งไว้ให้กลายเป็น"สิทธิชาวอังกฤษ"<ref>{{Cite book|last=Brown|first=Richard D.|url=https://www.worldcat.org/oclc/975419750|title=Self-evident truths : contesting equal rights from the Revolution to the Civil War|date=2017|isbn=978-0-300-22762-8|location=New Haven|oclc=975419750}}</ref> Stephen Lucas ได้เรียกว่า "หนึ่งในประโยคที่รู้จักกันดีมากที่สุดในภาษาอังกฤษ"<ref>Stephen E. Lucas, "Justifying America: The Declaration of Independence as a Rhetorical Document", in Thomas W. Benson, ed., ''American Rhetoric: Context and Criticism'', Carbondale, Illinois: Southern Illinois University Press, 1989, p. 85.</ref> โดย Joseph Ellis ได้กล่าวว่า เป็น"ถ้อยคำที่ทรงพลังและผลสืบเนืองมากที่สุดในประวัติศาสตร์อเมริกา" ข้อความนี้ได้แสดงให้เห็นถึงมาตรฐานทางศีลธรรมซึ่งสหรัฐควรที่จะมุ่งมั่น มุมมองนี้ได้รับการส่งเสริมโดยลินคอล์นอย่างเห็นได้ชัดเจน ที่ยอมรับว่าคำประกาศฉบับนี้เป็นรากฐานของปรัชญาทางการเมืองของเขา และโต้แย้งว่าเป็นคำแถลงการณ์ของหลักการโดย[[รัฐธรรมนูญสหรัฐ]]สมควรที่จะตีความ<ref name="McPherson1262">McPherson, ''Second American Revolution'', 126.</ref>
{{quote|'''เราถือว่าความจริงต่อไปนี้เป็นสิ่งที่ประจักษ์แจ้งอยู่ในตัวเอง นั่นคือ มนุษย์ทุกคนถูกสร้างขึ้นมาอย่างเท่าเทียมกัน และพระผู้สร้างได้มอบสิทธิบางประการที่จะเพิกถอนมิได้ไว้ให้แก่มนุษย์ ในบรรดาสิทธิเหล่านั้นได้แก่ [[ชีวิต เสรีภาพและการเสาะแสวงหาความสุข]]'''}}
 
คำประกาศอิสรภาพเป็นแรงบันดาลใจให้กับเอกสารที่มีความคล้ายคลึงกันหลายฉบับในประเทศอื่น ๆ ฉบับแรกเป็นคำประกาศ ปี ค.ศ. 1789 ของ[[สหรัฐเบลเยียม]]ซึ่งได้ถูกประกาศในช่วง[[การปฏิวัติบราเดนท์]]ใน[[เนเธอร์แลนด์ของออสเตรีย]] นอกจากนี้ยังเป็นต้นแบบสำหรับคำประกาศอิสรภาพหลายฉบับมากมายในยุโรปและละตินอเมริกา ตลอดจนแอฟริกา([[คำประกาศอิสรภาพแห่งไลบีเรีย|ไลบีเรีย]]) โอเชียเนีย([[คำประกาศอิสรภาพแห่งนิวซีแลนด์|นิวซีแลนด์]]) ในช่วงครึ่งแรกของศตวรรษที่ 19<ref>{{cite book|last=Armitage|first=David|url=https://archive.org/details/declarationofind00armi/page/113|title=The Declaration of Independence: A Global History|date=2007|publisher=Harvard University Press|isbn=978-0-674-02282-9|location=Cambridge, Massachusetts|pages=[https://archive.org/details/declarationofind00armi/page/113 113–126]}}</ref>
ประโยคนี้ถูกเรียกว่าเป็น "หนึ่งในประโยคที่เป็นที่รู้จักกันดีที่สุดในภาษาอังกฤษ"<ref>Lucas, "Justifying America", 85.</ref> และ "คำที่มีอำนาจและผลกระทบมากที่สุดในประวัติศาสตร์อเมริกัน"<ref>Ellis, ''American Creation'', 55–56.</ref> และจากแนวคิดในการปกป้องสิทธิปัจเจกชนและกลุ่มคนชายขอบนี้เองที่มีอิทธิพลอย่างยิ่งต่อ[[อับราฮัม ลินคอล์น]] ผู้ซึ่งพิจารณาว่าคำประกาศอิสรภาพดังกล่าวเป็นรากฐานของปรัชญาการเมืองของตน<ref name="McPherson126">McPherson, ''Second American Revolution'', 126.</ref>
 
== อ้างอิง ==