ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ระบบการลงคะแนนแบบแฮร์-คลาร์ก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ekapoj yam (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: {{ระบบการลงคะแนน}} '''แฮร์-คลาร์ก''' ({{lang-en|Hare–Clark electoral system}}) เป็นระบบการลงคะแนนประเภทหนึ่งของการลงคะแนนแบบถ่ายโอนคะแนนเสียงซึ่งเป็นการเลือ...
 
Ekapoj yam (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 37:
 
''จำนวนโควตาที่ใช้ในการเลือกผู้สมัครคือ 2,501 คะแนน''
|}
 
'''3. การประกาศผู้ชนะ '''
:ผู้สมัครจะได้รับเลือกเมื่อคะแนนเสียงที่ได้รับถึงจำนวนโควตา ในขณะที่คะแนนเสียงส่วนเกินจากโควตานั้นจะแบ่งออกไปตามเกณฑ์ในข้อ '''4''' ด้านล่าง หากไม่มีผู้สมัครใดที่ได้คะแนนเสียงเกินจากโควตา และยังมีที่นั่งเหลือ จะต้องดำเนินการนับคะแนนต่อตามข้อ '''5''' การนับคะแนนจะสิ้นสุดลงเมื่อไม่มีที่นั่งเหลือ
 
{| class="wikitable" style="margin-left:auto; margin-right:auto;"
|-
|
'''''ตัวอย่าง:'''''
 
''ผู้สมัคร PLATYPUS ได้รับคะแนน 3,000 คะแนนเสียงจากลำดับแรก และเป็นจำนวนมากกว่าโควตาที่ 2,501 คะแนน ดังนั้นผู้สมัคร PLATYPUS ได้รับเลือก''
|}
 
'''4. ผู้สมัครที่มีคะแนนเกิน'''
 
:จำนวนคะแนนเสียงที่เกินจากโควตาถือเป็นคะแนนเกิน จำนวนคะแนนเกินนั้นจะใช้ในการกำหนดค่าการโอนคะแนนของผู้สมัครรายนั้น
 
 
::'''4a. การกำหนดค่าการโอน'''
 
:::<math>\mbox{transfer value} = \left({{\rm \mbox{surplus votes}} \over {\rm \mbox{last votes received}}}\right)</math>
 
{| class="wikitable" style="margin-left:auto; margin-right:auto;"
|-
|
'''''ตัวอย่าง:'''''
 
''ผู้สมัคร PLATYPUS ซึ่งมีคะแนนเสียงในลำดับแรก 3,000 คะแนน ซึ่งเกินกว่าโควตา 499 คะแนน''
 
:ค่าการโอน (x)=(499/3000)
:(x)=0.17
 
''ค่าการโอนของผู้สมัคร PLATYPUS คือ 0.17''
|}