ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อุโลก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Kornbatman (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับปรุงบางส่วน
บรรทัด 30:
}}
 
'''อุโลก''' หรือ '''ส้มกบ''' ({{ชื่อวิทยาศาสตร์|Hymenodictyon orixense}}) เป็นพืชใน[[วงศ์เข็ม]] มีถิ่นกำเนิดใน[[อนุทวีปอินเดีย]] [[อินโดจีน]] ถึง[[ฟิลิปปินส์]]<ref>{{cite web|url=http://powo.science.kew.org/taxon/urn:lsid:ipni.org:names:910769-1|title=''Hymenodictyon orixense'' (Roxb.) Mabb.|website=Plants of the World Online - Kew Science|accessdate=January 2, 2020}}</ref> ลักษณะเป็นไม้ต้นผลัดใบ สูง 9–30 เมตร ใบเป็นใบเดี่ยวรูปไข่กว้าง ขนาด 15–22 × 12–30 เซนติเมตร
== ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ==
อุโลกเป็นไม้ต้นผลัดใบ สูง 9–30 เมตร ใบเป็นใบเดี่ยวรูปไข่กว้าง ขนาด 15–22 × 12–30 เซนติเมตร โคนใบมน ปลายใบแหลมและหยักเว้า 3–5 แฉก ก้านใบยาว 12–23 เซนติเมตร ดอกเป็นดอกเพศเมียหรือสมบูรณ์เพศ ออกเป็นช่อที่ปลายยอดสีส้มแดง ยาว 5–15 เซนติเมตร ดอกย่อยมีจำนวนมาก กลีบรองดอก 5 กลีบ เชื่อมติดกันเป็นหลอดขนาด 2 เซนติเมตร ไม่มีกลีบดอก เกสรตัวผู้ 15 อัน อยู่เป็นกลุ่ม กลุ่มละ 3 อัน ผลเป็นฝักกลวงขนาด 5–8 เซนติเมตร เมื่อแก่แตกภายในมี 2 เมล็ด<ref>{{cite web|url=https://www.dailynews.co.th/agriculture/695523|title=เรื่องน่ารู้: อุโลก|website=เดลินิวส์|date=February 28, 2019|accessdate=January 2, 2020}}</ref>
 
== แหล่งที่พบ ==
อุโลกเป็นพืชที่พบในป่าเต็งรังและป่าเบญจพรรณ ขึ้นได้ดีในดินร่วนปนทรายกลางแสงแดดจัด และยังพบตามภูเขาหินปูน อุโลกจะที่เกิดตามร่องหินปูนทำให้จะมีลักษณะลำต้นบิดเบี้ยว ไม่เป็นรูปทรง
 
== การใช้ประโยชน์ ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/อุโลก"