ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คูลอมบ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Peetang618 (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มลิงก์
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 3 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.8
บรรทัด 1:
'''คูลอมบ์''' ({{lang-en|coulomb}} ย่อ: '''C''')<ref group="ม">ในวงการวิทยาศาสตร์ (และสำนักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตยสภา) นิยมใช้ '''คูลอมบ์''' แบบภาษาอังกฤษ ไม่นิยมอ่าน '''กูลง''' แบบภาษาฝรั่งเศส โปรดดู [http://rirs3.royin.go.th/coinages/webcoinage.php พจนานุกรมศัพท์เทคโนโลยีสารสนเทศฉบับราชบัณฑิตยสภา] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20170715173151/http://rirs3.royin.go.th/coinages/webcoinage.php |date=2017-07-15 }} [http://www.thaiglossary.com/search/coulomb คลังคำศัพท์ไทย ของ สวทช.] และเอกสารวิชาการอื่นประกอบ</ref> เป็นหน่วยวัด[[ประจุไฟฟ้า]]ใน[[ระบบหน่วยระหว่างประเทศ]] ตั้งชื่อตาม[[ชาร์ล-โอกุสแต็ง เดอ กูลง]]<ref group="ม">หลักการเขียนคำทับศัพท์ภาษาฝรั่งเศสของ[[ราชบัณฑิตยสภา]] โดยสำนักศิลปศาสตร์ ฉบับ พ.ศ. 2554 และ 2535 ถอดรูปตรงกัน</ref> [[นักฟิสิกส์]][[ชาวฝรั่งเศส]]<ref>{{cite web |url=http://www.bipm.org/utils/common/pdf/si_brochure_8_en.pdf |publisher=BIPM |title=SI Brochure, Appendix 1, |page=144 }}</ref> [[สำนักงานชั่งตวงวัดระหว่างประเทศ]]ให้คำนิยามไว้ว่า หนึ่งคูลอมบ์ คือ ปริมาณประจุไฟฟ้าที่เกิดจาก[[กระแสไฟฟ้า]]หนึ่ง[[แอมแปร์]]คูณด้วยเวลาหนึ่งวินาที<ref>{{cite web|url=https://www.bipm.org/utils/common/pdf/si_summary_en.pdf|author=[[BIPM]]|title=A concise summary of the International System of Units|access-date=5 เมษายน 2561|archive-date=2017-10-10|archive-url=https://web.archive.org/web/20171010170236/http://www.bipm.org/utils/common/pdf/si_summary_en.pdf|url-status=dead}}</ref>
 
:<math>1 ~ \text{C} = 1 ~ \text{A} \cdot 1 ~ \text{s}</math>
บรรทัด 17:
* หนึ่ง[[แอมแปร์-ชั่วโมง]] เท่ากับ 3600&nbsp;C ∴ 1&nbsp;mA&sdot;h = 3.6&nbsp;C.
* หนึ่ง[[สแตตคูลอมบ์]] (statC) ซึ่งเป็นหน่วยประจุไฟฟ้าในระบบซีจีเอส มีค่าเท่ากับ 3.3356{{e|-10}}&nbsp;C หรือประมาณหนึ่งในสามของนาโนคูลอมบ์
* ไฟฟ้าสถิตจากการถูวัตถุด้วยกันมีค่าเพียงระดับไมโครคูลอมบ์<ref>{{cite web |url=http://www-zeuthen.desy.de/~pohlmadq/teach/112/ch16.pdf |publisher=[[DESY]] |title=Physics: Principles with Applications |author=Martin Karl W. Pohl |access-date=2018-04-06 |archive-date=2011-07-18 |archive-url=https://web.archive.org/web/20110718230251/http://www-zeuthen.desy.de/~pohlmadq/teach/112/ch16.pdf |url-status=dead }}</ref>
* ปริมาณประจุไฟฟ้าอันเนื่องมาจาก[[สายฟ้า]]มีค่าประมาณ 15 C บางทีอาจสูงได้ถึง 350 C <ref>Hasbrouck, Richard. [https://www.llnl.gov/str/pdfs/05_96.1.pdf Mitigating Lightning Hazards], Science & Technology Review May 1996. Retrieved on 2009-04-26.</ref>
* ปริมาณประจุไฟฟ้าที่จ่ายจากแบตเตอรี่แอลคาไลน์ขนาด AA มีค่าประมาณ 5&nbsp;kC&nbsp;= 5000&nbsp;C&nbsp;≈ 1400&nbsp;[[แอมแปร์-ชั่วโมง|mA&sdot;h]]<ref>{{Google books|eftR-e1nVAgC|How to do everything with digital photography – David Huss|page=23}}, "The capacity range of an AA battery is typically from 1100–2200 mAh."</ref>