ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การต่อต้านอเมริกา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 1 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.8
บรรทัด 2:
'''การต่อต้านอเมริกา''' ({{lang-en|anti-Americanism}}) เป็นการคัดค้านหรือเป็นปรปักษ์ต่อนโยบาย วัฒนธรรม สังคม เศรษฐกิจ นโยบายต่างประเทศ บทบาทระหว่างประเทศหรือบทบาท[[อภิมหาอำนาจ]]ของ[[สหรัฐอเมริกา]] ภาพลักษณ์เชิงลบร่วมสมัยสามัญของอเมริกันมีการยืนยันว่าชาวอเมริกันก้าวร้าว ยโส ขาดความรู้ น้ำหนักเกิน แต่งกายไม่เรียบร้อย นิยมวัตถุ หมกมุ่นกับการหาเงิน ยึดมั่นคุณธรรมตามแบบ (moralistic) เกิน และโดยทั่วไปน่ารังเกียจ (obnoxious)<ref>William Russell Melton. ''The new American expat: thriving and surviving overseas in the post-9/11 world''. (Intercultural Press 2005. p. XIX.)</ref>
 
นักรัฐศาสตร์ เบรนดอน โอคอนเนอร์แห่งศูนย์สหรัฐศึกษา (United States Studies Centre) แนะว่าการต่อต้านอเมริกาไม่อาจแยกเป็นปรากฏการณ์ต้องกัน และคำดังกล่าวกำเนิดเป็นองค์ประกอบหยาบ ๆ ของภาพพจน์ อคติและการวิจารณ์ต่อชาวอเมริกันหรือสหรัฐอเมริกา แล้ววิวัฒนาเป็นการวิจารณ์ที่ยึดการเมืองมากขึ้น นักวิชาการชาวฝรั่งเศส มารี-ฟร็อง ตัวเน (Marie-France Toinet) กล่าวว่า การใช้คำนี้ "มีเหตุผลชอบเต็มที่เฉพาะเมื่อสื่อความการคัดค้านอย่างเป็นระบบ เป็นปฏิกิริยาภูมิแพ้แบบหนึ่ง ต่ออเมริกาโดยรวม"<ref name="OConnor">O'Connor, Brendan: [http://www.anzasa.arts.usyd.edu.au/a.j.a.s/Articles/1_04/OConnor.pdf "A Brief History of Anti-Americanism from Cultural Criticism to Terrorism"] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20060820134611/http://www.anzasa.arts.usyd.edu.au/a.j.a.s/Articles/1_04/OConnor.pdf |date=2006-08-20 }}, Australasian Journal of American Studies, July 2004, pp. 77–92</ref>
 
== อ้างอิง ==