ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรงเรียนเซนต์โยเซฟคอนเวนต์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nutthoney (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Nutthoney (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 55:
'''พ.ศ. 2480:''' โรงเรียนได้รับการรับรองวิทยฐานะ เทียบเท่าโรงเรียนของรัฐบาล จากกระทรวงศึกษาธิการ
 
'''พ.ศ. [tel:2482-2486 2482-2486]''': กระทรวงศึกษาธิการอนุญาตให้เปิดทำการสอนหลักสูตรนักเรียนฝึกหัดครูขึ้น เพื่อผลิตบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถออกไปรับใช้สังคมและช่วยพัฒนางานการศึกษาของไทย
 
'''พ.ศ. 2540''' โรงเรียนได้เปิดโปรแกรมการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการสอน และผู้สอนเป็นภาษาอังกฤษ (English Program)<ref name=":2" />
บรรทัด 86:
|'''ลำดับ'''
|'''รายนาม'''
1 ตุลาคม 2553 - |'''ผู้รับใบอนุญาตคนที่ 5'''
|'''ตำแหน่ง'''
|'''ผู้จัดการ'''
|-
|1
|สังฆราชเรอเนแปร์รอส<ref>[http://catholichaab.com/main/index.php/2015-09-22-02-42-26/biography/2015-09-22-08-08-12/442-rene-perros พระสังฆราชแปร์รอส], หอจดหมายเหตุ, สืบค้นเมื่อ 2021-07-27</ref>
|31 ธันวาคม 2480 - (ผู้ก่อตั้งโรงเรียน)
|
|-
|2
|นางสาวรจิต กิจเจริญ
|26 กุมภาพันธ์ 2484 - ผู้รับใบอนุญาตคนที่ 1
|21 พฤษภาคม 2499  - ผู้จัดการคนที่17 กันยายน 12515
|-
|3
|นางสาวนิภา กิจเจริญ
|30 พฤศจิกายน 2538
|18 กันยายน 2515  - ผู้จัดการคนที่12 พฤษภาคม 22540
30 พฤศจิกายน 2538 - ผู้รับใบอนุญาตคนที่ 2
|-
|4
|นางสาวจันทร์เพ็ญ ชีรานนท์
|13 พฤษภาคม 2540 - ผู้รับใบอนุญาตคนที่ 3
|5 มิถุนายน 2540 - ผู้จัดการคนที่ 3
|-
|5
|นางสาวศรีสมร ชำนาญธรรม
|24 พฤษภาคม 2550 - ผู้รับใบอนุญาตคนที่ 4
|24 พฤษภาคม 2550 - ผู้จัดการคนที่ 4
|-
|6
|นางสาวมุกดา มุ่งหมาย
|1 ตุลาคม 2553
|27 กันยายน 2553 - ผู้จัดการคนที่ 5
|27 กันยายน 2553
1 ตุลาคม 2553 - ผู้รับใบอนุญาตคนที่ 5
|-
|7
|นางสาวยุภี กิจเจริญ
|1521 พฤษภาคม 2557 - ผู้จัดการคนที่ 6
21|15 พฤษภาคม 2557 - ผู้รับใบอนุญาตคนที่ 6
|}
 
เส้น 131 ⟶ 133:
|1
|เซอร์เดซองช โอชู
|[tel:2480-2491 2480-2491]
|-
|2
|นางสาวรจิต กิจเจริญ
|[tel:2491-2527 2491-2527]
|-
|3
|นางสาวมุกดา มุ่งหมาย
|[tel:2527-2533 2527-2533]
|-
|4
|นางสาวจันทร์เพ็ญ ชีรานนท์
|[tel:2533-2536 2533-2536]
|-
|5
|นางสาวมุกดา มุ่งหมาย
|[tel:2536-2539 2536-2539]
|-
|6
|นางสาววิภา เลค
|[tel:2539-2545 2539-2545]
|-
|7
|นางสาวมุกดา มุ่งหมาย
|[tel:2545-2557 2545-2557]
|-
|8
เส้น 200 ⟶ 202:
หรือ วัดน้อย อยู่ส่วนปีกขวาของโรงเรียน ถูกสร้างขึ้นเมื่อปี '''พ.ศ. 2463''' เพื่อประกอบพิธีกรรมทางศาสนา อาทิ การรับศีลกำลัง การรับศีลมหาสนิท ออกแบบโดยนายอัลเฟรโด ริกาซซี่ เป็นอาคารโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก สูง 3 ชั้น มีผังรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ายาว รูปแบบสถาปัตยกรรมคลาสสิครีไววัล (Classic Revival) องค์ประกอบและระเบียบทางสถาปัตยกรรมเน้นความสงบและสง่างาม ใจกลางอาคารเป็น ห้องประกอบพิธี (Nave) ขนาบด้วยทางเดิน (Gallery) 2 ชั้น บริเวณแท่นบูชา (Apse) เป็นซุ้มโค้งรูปแบบปัลลาเดียน (Palladian motif) รอบอาคารเป็นหน้าต่างบานเกล็ดไม้ ทำให้อาคารมีความโปร่ง ระบายอากาศได้ดี เหมาะกับภูมิอากาศของประเทศไทย
 
แต่ราวๆปี '''พ.ศ. [tel:2529-2531 2529-2531]''' โบสถ์น้อยถูกเพลิงไหม้ไปบางส่วน โดยภาพเขียนเก่าภายในได้เสียหายไปในครั้งนั้นด้วย ทำให้ต้องมีการซ่อมแซมใหม่ เช่น ในส่วนของฝ้าเพดาน แต่การบูรณะก็ได้พยายามรักษารูปแบบดั้งเดิมไว้ แม้ว่าทางโรงเรียนได้มีอาคารต่างๆสร้างขึ้นเพื่อขยายการเรียนการสอน อาทิ อาคาร 72 ปี หอประชุมทรินิตี้ ทำให้โฉมหน้าของโรงเรียนในปัจจุบันมีความเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมมาก อย่างไรก็ดี โบสถ์น้อยซึ่งได้รับการอนุรักษ์เป็นอย่างดี มีการใช้สอยอยู่จนปัจจุบันยังคงดำรงอยู่เป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ของโรงเรียน<ref name=":0">{{Cite web|title=โบสถ์น้อยโรงเรียนเซนต์โยเซฟคอนเวนต์|url=https://asaconservationaward.com/index.php/2016-06-13-15-22-21/temple2550/206-saint-joseph-convent-school|url-status=live|website=asaconservationaward.com}}, สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์, 8 กันยายน 2559</ref>
 
ปัจจุบันโบสถ์น้อยเป็นสิ่งปลูกสร้างเพียงอย่างเดียวที่คงอยู่ตั้งแต่สมัยการก่อตั้งโรงเรียนเมื่อเริ่มแรก และได้รับรางวัลอาคารอนุรักษ์ศิลปะสถาปัตยกรรมดีเด่น ประเภทอาคารปูชนียสถานและวัดวาอารามจาก[[สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์]] เมื่อปี '''พ.ศ. 2550'''<ref name=":1" />