ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นิวอัมสเตอร์ดัม (จังหวัดสมุทรปราการ)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Waniosa Amedestir (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
Waniosa Amedestir (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 19:
จากการศึกษาเปรียบเทียบกับสภาพของสถานีการค้าของฮอลันดาที่พระนครศรีอยุธยาที่สร้างในสมัย[[พระเจ้าปราสาททอง]] อาคารเหล่านี้ประกอบด้วยโรงเก็บสินค้า ห้องอยู่อาศัย ห้องโถงต่าง ๆ และหอสังเกตการณ์เดินเรือ สภาพของสถานีสินค้าของฮอลันดาบริเวณปากน้ำจึงไม่น่าจะต่างกันมากมายนัก<ref>''เอกสารประกอบโครงการอบรมทบทวนอาสาสมัครท้องถิ่นในการดูแลรักษามรดกทางศิลปวัฒนธรรม ปี 2549 จังหวัดสมุทรปราการ''. สำนักงานศิลปากรที่ 1 ราชบุรี.</ref> จนถึงสมัย[[สมเด็จพระนารายณ์มหาราช]] [[พระยาวิไชเยนทร์ (คอนสแตนติน ฟอลคอน)]] อัครมหาเสนาบดีผู้รับใช้พระเจ้ากรุงฝรั่งเศสอย่างเต็มที่ ได้กีดกันการค้าของฮอลันดาจนต้องย้ายฐานออกไปจากกรุงสยามไปพักหนึ่ง ภายหลังเมื่อการค้ากับเมืองสยามลดน้อยลงจึงทอดทิ้งคลังสินค้าและชุมชนบริเวณนี้ไป จนปัจจุบันไม่พบร่องรอยหลักฐานหลงเหลืออยู่<ref>{{cite web |author1=วลัยลักษณ์ ทรงศิริ |title=จากปากน้ำถึงสมุทรปราการ เมืองหน้าด่านชายทะเล |url=https://lek-prapai.org/home/view.php?id=810 |publisher=มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์}}</ref>
 
จากบันทึกของเอ็งเงิลแบร์ท เค็มพ์เฟอร์ บันทึกไว้ด้วยว่า โกดังสินค้าและสำนักงานของนิวอัมสเตอร์ดัมนี้สร้างด้วยไม่ไม้ไผ่ แต่ในบันทึกของคณะสงฆ์ในอีก 61 ปีต่อมา บอกว่าเป็นตึกวิลันดา จึงสันนิษฐานว่าคงสร้างเป็นอาคารถาวรภายหลัง<ref name="ผู้จัดการออนไลน์"/>
 
==อ้างอิง==