ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สถานีรถไฟนครลำปาง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Prsrt (คุย | ส่วนร่วม)
Paweeraphat Thasee (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับเปลี่ยนบทความใหม่ให้สมบูรณ์ และเป็นปัจจุบัน
บรรทัด 1:
{{Infobox station|name=สถานีรถไฟนครลลำปาง<Br/>Den Chai Railway Station|zone=|closed=|rebuilt=|electrified=|ADA=|code=1193|owned=[[การรถไฟแห่งประเทศไทย]]|smartcardname=|baggage_check=ใช้พนักงานตรวจ|smartcardstatus=|former=|passengers=ไม่ต่ำกว่า 100 คน /วัน{{อ้างอิง}}|pass_percent=|pass_system=|mpassengers=12 ขบวนที่หยุดรับ-ส่งผู้โดยสาร|services=หมายเลขโทรศัพท์ 0-5421-7024|opened={{วันเกิด-อายุ|2459|4|1}}|bicycle=|type=|line={{SRT Lines|สายเหนือ}}|style=|image=Lampang-railway station1771.JPG|image_size=|image_caption=ภาพจากด้านหน้าสถานี|address=ถนนรถไฟ ตำบลสบตุ๋ย [[อำเภอเมืองลำปาง]] [[จังหวัดลำปาง]] 52100|coordinates=|Age=|parking=ลานจอดรถหน้าสถานี|other=|structure=ระดับดิน|platform=2|depth=|levels=1|tracks=|signal=สายลวด หางปลา มีเสาสัญญาณเตือน ใช้ห่วงทางสะดวก|map_locator=}}
{{กล่องข้อมูล สถานีรถไฟ
 
|line =
|image = Lampang-railway station1771.JPG
|short_description = สถานีรถไฟนครลำปาง
|station_id = 1193
|name_full_th = นครลำปาง
|name_abbr_th = ลป.
|name_full_en = Nakhon Lampang
|name_abbr_en = NKL
|line = {{SRT Lines|สายเหนือ}}
|area_of = ลำปาง
|station_level = 1
|signal_system = หางปลา
|latitude =
|longtitude =
|mapia_url =
|address = ถนนรถไฟ [[ตำบลสบตุ๋ย]] [[อำเภอเมืองลำปาง]] [[จังหวัดลำปาง]]
|telno =
|station_master =
|station_master_assistant =
|noof_rails = ย่านสถานี
|note =
}}
{{ป้ายสถานีรถไฟ2
<!--สถานีปัจจุบัน-->
|name_th = นครลำปาง
|name_en = Nakhon Lampang
|distance = 642.29293
<!--สถานีก่อนหน้านี้-->
|prev_th = หนองวัวเฒ่า
เส้น 34 ⟶ 13:
|next_th = ห้างฉัตร
|next_en = Hang Chat
|next_distance = 654.85859
<!--ดูเพิ่ม-->
|seealso = สายเหนือ
}}
[[ไฟล์:728-Steam-Locomotive.JPG|thumb|[[รถจักรไอน้ำโมกุล C56]] หมายเลข 728 (C56-36) ตั้งอยู่ที่ด้านหน้าสถานีรถไฟนครลำปาง]]
'''สถานีรถไฟนครลำปาง''' ตั้งอยู่ที่ ตำบลสบตุ๋ย อำเภอเมืองลำปาง [[จังหวัดลำปาง]] มีพื้นที่ 161 ไร่ ห่างจาก[[สถานีรถไฟหัวลำโพง|สถานีรถไฟกรุงเทพ]] 642.29 กิโลเมตร สร้างขึ้นในราวปี [[พ.ศ. 2458]] และเปิดใช้งานเมื่อครั้งรถไฟหลวงขบวนแรกเดินถึงจังหวัดลำปางในวันที่ [[1 เมษายน]] [[พ.ศ. 2459]] แต่เดิม ระหว่างสถานีรถไฟห้างฉัตรกับสถานีรถไฟนครลำปางเคยมี [[ที่หยุดรถบ่อแฮ้ว]] แต่ปัจจุบันได้ถูกยุบเลิกไปแล้ว
 
'''สถานีรถไฟนครลำปาง''' ({{Lang-en|'''Nakhon Lampang Railway Station'''}}) เป็นสถานีรถไฟระดับหนึ่งบน[[ทางรถไฟสายเหนือ|เส้นทางรถไฟสายเหนือ (กรุงเทพ–เชียงใหม่)]] ซึ่งถ้าเป็นสถานีรถไฟประจำจังหวัดลำปาง ซึ่งลงสถานีนี้สามารถเดินทางไปจังหวัดพะเยาและจังหวัดตากได้อีกด้วย โดยสถานีรถไฟนครลำปางอยู่ระหว่างสถานีรถไฟหนองวัวเฒ่า กับสถานีรถไฟห้างฉัตร
==ลักษณะสถาปัตยกรรม==
 
ตัวอาคารมีรูปแบบการก่อสร้างผสมผสานกันระหว่าง[[สถาปัตยกรรมไทย]]ภาคเหนือกับสถาปัตยกรรมยุโรป เป็นอาคาร 2 ชั้นครึ่งตึกครึ่งไม้ ชั้นบนเป็นที่ทำการสารวัตรเดินรถลำปาง ส่วนชั้นล่างเป็นที่ทำการของสถานี รั้วระเบียงอาคารชั้นบนและเหนือวงกบประตูและหน้าต่างเป็นไม้ฉลุลายสวยงาม ส่วนทางเข้าห้องโถงชั้นล่างซึ่งเป็นห้องจำหน่ายตั๋วและทางขึ้นชั้นบนเป็นประตูรูปโค้งขนาดใหญ่ สถานีนครลำปางได้รับการดูแลและบำรุงรักษาอย่างสม่ำเสมอตลอดมา ทำให้ยังคงรูปแบบและเอกลักษณ์เดิมอย่างครบถ้วนสมบูรณ์ จนได้รับการคัดเลือกจากคณะกรรมการอนุรักษ์สถาปัตยกรรมแห่ง[[สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์]] ให้เป็นอาคารอนุรักษ์ดีเด่น ประเภทอาคารสถาบันและสาธารณะ ประจำปี [[พ.ศ. 2536]] ในอดีตเป็นศูนย์กลางของรถไฟที่จะต่อไปที่นครเวียงพิงค์ ([[จังหวัดเชียงใหม่]]) ข้างหน้ามีสถานีมีหัวรถจักรไอน้ำ มีอักษรย่อเขียนว่า ร.ฟ.ท. อยู่ที่ข้างหัวรถจักร ข้างหน้ามีน้ำพุเป็นช้างพ่นน้ำพุ ตัวสถานีห่างจากที่ว่าการอำเภอเมืองประมาณ 5 กิโลเมตร และอาคารสถานีได้ถูกบันทึกเป็น[[อาคารอนุรักษ์]] ส่วนหน้าสถานีจะมีรถไฟจะมีจุดจอดรถม้าอยู่ด้วย
สถานีนครลำปางก่อสร้างและเปิดเดินรถในสมัยรัชกาลที่ 6 ปัจจุบันตัวสถานีและย่าน(ไม่นับย่านโรงรถจักร และย่านนอกสถานี) มีจำนวนทาง 8 ทาง เป็นทางหลัก 1 ทาง ทางหลีก 4 ทาง ทางตัน 3 ทาง โดยเป็นทางติดชานชาลา 2 ทาง
 
สถานีรถไฟนครลำปางเป็นสถานีหนึ่งในโครงการรถไฟทางคู่ช่วงเด่นชัย - เชียงใหม่
 
สถานีรถไฟนครลำปางเป็นสถานีหนึ่งในโครงการรถไฟความเร็วสูงกรุงเทพ(สถานีกลางบางซื่อ) - เชียงใหม่ ช่วงสถานีรถไฟพิษณุโลก - เชียงใหม่ ใช้ชื่อสถานี"ลำปาง" รหัสสถานี HN10 อยู่ระหว่างสถานีรถไฟศรีสัชนาลัย กับสถานีรถไฟลำพูน เปิดใช้งานประมาณปี พ.ศ. 2575<ref>{{Citation|title=รถไฟความเร็วสูงในประเทศไทย|date=2021-07-17|url=https://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%A3%E0%B8%96%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B9%87%E0%B8%A7%E0%B8%AA%E0%B8%B9%E0%B8%87%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2&oldid=9512593|work=วิกิพีเดีย|language=th|access-date=2021-07-17}}</ref>
 
แต่เดิม ระหว่างสถานีรถไฟห้างฉัตรกับสถานีรถไฟนครลำปางเคยมี ที่หยุดรถบ่อแฮ้วแต่ปัจจุบันได้ถูกยุบเลิกไปแล้ว
 
== ข้อมูลจำเพาะ ==
 
* ประเภทเส้นทาง : ทางรถไฟทางไกลสายเหนือ
* รหัส  : 1193
* ชื่อภาษาไทย  : นครลำปาง
* ชื่อภาษาอังกฤษ : Nakhon Lampang
* ชื่อย่อภาษาไทย : ลป.
* ชื่อย่อภาษาอังกฤษ : NKL.
* ชั้นสถานี  : สถานีรถไฟชั้น 1
* ระบบอาณัติสัญญาณ : หางปลา ใช้สัญญาณเข้าเขตนอก ใช้ห่วงทางสะดวก
* พิกัดที่ตั้ง  : หน้าสถานีรถไฟมีวงเวียน 4 แยกของถนนรถไฟ ถนนประสานไมตรี และถนนสุเรนทร์
* ที่อยู่  : ตำบลสบตุ๋ย อำเภอเมืองลำปาง จังหวัดลำปาง 52100
* ขบวนรถ/วัน:จอด 12 ขบวน รถด่วนพิเศษดีเซลราง รถด่วนพิเศษ รถด่วน รถเร็ว ท้องถิ่น และรถสินค้า/น้ำมัน
* ปริมาณผู้โดยสาร/วัน : ไม่ต่ำกว่า 100 คน
* สถานีก่อนหน้า : สถานีรถไฟหนองวัวเฒ่า
* สถานีถัดไป : สถานีรถไฟห้างฉัตร
* ห่างจากสถานีกรุงเทพ : 642.293 กิโลเมตร
 
== ประวัติ ==
สถานีรถไฟบ้านปินก่อสร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 6 ปี พ.ศ. 2458 และเปิดเดินรถครั้งแรกเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2459 โดยเส้นทางช่วงแม่จาง-นครลำปาง ซึ่งมีระยะทาง 42 กิโลเมตร และเป็นส่วนหนึ่งของ[[ทางรถไฟสายเหนือ]] มี[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน]] เป็นผู้บัญชาการ และมีนายช่างชาวเยอรมัน เอมิล ไอเซนโฮเฟอร์ เป็นผู้ควบคุมการก่อสร้าง<ref>{{Citation|title=ทางรถไฟสายเหนือ|date=2021-06-02|url=https://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%A3%E0%B8%96%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%B7%E0%B8%AD&oldid=9439475|work=วิกิพีเดีย|language=th|access-date=2021-07-17}}</ref>สถานีรถไฟนครลำปาง เป็นสถานีรถไฟยุคแรกๆที่ยังคงเหลืออาคารอยู่ภายหลังในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1
 
ในช่วงปี พ.ศ. 2459 - 2464 สถานีรถไฟนครลำปางได้เป็นสถานีรถไฟปลายทางของเส้นทางสายเหนือ มีขบวนรถรวมพิษณุโลก - ลำปาง และอุตรดิตถ์ - ลำปาง ก่อนมีรถด่วนจากกรุงเทพขึ้นมาทำขบวนเมื่อ 1 พฤศจิกายน 2465<ref name=":0">{{Cite web|title=.::สถานีรถไฟลำปาง::.|url=http://www.lampang.go.th/travel/weblp/page/page6.html|website=www.lampang.go.th}}</ref> ซึ่งในเวลานั้นทำให้จังหวัดลำปางเป็นชุมทางขนส่งมวลชนที่ทันสมัยที่สุด ซึ่งทำเกิดการเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจ แล้วยังเป็นจุดขายกระจายสินค้า และผู้คนจากภาคกลาง ที่จะเดินทางไปที่อื่นๆในภาคเหนือ<ref name=":1">{{Cite web|last=Thailand (http://neko.studio)|first=Neko Studio|title=เกร็ดประวัติศาสตร์ สถานีรถไฟนครลำปาง|url=http://www.muangboranjournal.com/post/Nakhon-Lampang-railway-station|website=วารสารเมืองโบราณ|language=en-US}}</ref>
 
ส่วนสงครามโลกครั้งที่ 2 สถานีรถไฟนครลำปางเป็นจุดยุทธศาสตร์ที่ฝ่ายสัมพันธมิตรต้องการทำลาย เนื่องจากเป็นเส้นทางลำเลียงและยุทโธปกรณ์ของญี่ปุ่น แต่ก็ได้รับความเสียหายเล็กน้อย โดยหลักฐานที่มาอยู่ถึงปัจจุบันคือรอยกระสุนปืน ที่คานหลังคาชานชลาสถานีรถไฟ<ref name=":1" />
 
ในปี พ.ศ. 2506 การรถไฟแห่งประเทศไทยได้จัดส่งหัวรถจักรไอน้ำมาแสดงไว้ที่สถานีรถไฟลำปาง และกำหนดให้สถานีรถไฟแห่งนี้เป็นสถานีประวัติศาสตร์ และทำการอนุรักษ์ไว้ โดยมีตัวอาคารสถานี คลังสินค้า พื้นที่เก็บหัวรถจักรและตัวรถไฟ รวมถึงพื้นที่บ้านพักพนักงาน ซึ่งอาคารสถานีได้ผ่านการต่อเติมมาเป็นบางส่วน โดยเฉพาะช่วงก่อนปี พ.ศ. 2520 มีการต่อเติมส่วนควบคุมบริเวณปีกทางทิศใต้ ส่วนพักคอยด้านติดรางรถไฟ และ ซุ้มด้านหน้าที่จอดรถ<ref name=":0" />
 
ในปี พ.ศ.2536 สถานีรถไฟนครลำปาง ได้รับการคัดเลือกจากคณะกรรมการอนุรักษ์สถาปัตยกรรมแห่ง[[สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์]] ให้เป็นอาคารอนุรักษ์ดีเด่น ประเภทอาคารสถาบันและสาธารณะ ประจำปี [[พ.ศ. 2536]] <ref name=":1" />
 
ในปี พ.ศ. 2538 ได้มีการเปลี่ยนกระเบื้องหลังคา กระเบื้องพื้น ของตัวสถานี และปรับปรุงพื้นชั้นล่างทั้งหมด<ref name=":0" /> ซึ่งก็ยังถือว่าเป็นสถาปัตยกรรมยังคงรูปแบบและเอกลักษณ์เดิมอย่างครบถ้วนสมบูรณ์ จนถึงปัจจุบัน
 
ปัจจุบันสถานีรถไฟประจำจังหวัดลำปาง มีพื้นที่ 161 ไร่ ห่างจากสถานีรถไฟกรุงเทพ 642.293 กิโลเมตร
 
== สถาปัตยกรรม ==
อาคารสถานีเป็นอาคารสองชั้นที่ผสมผสานกันระหว่าง[[สถาปัตยกรรมไทย]]ภาคเหนือกับสถาปัตยกรรมยุโรปแบบบาวาเรียนคอทเทจ (Bavarian Cottage) ออกแบบโดย เอิรสท์ อัลท์มันน์ (Mr. Ernst Altmann) วิศวกรชาวเยอรมนี ชั้นล่างก่ออิฐฉาบปูนใช้ระบบคานโค้ง (Arch) 4 ช่วง ขนาบด้วยโค้งช่วงเล็กประกบทั้งสองฝั่งเป็นรูปแบบนีโอคลาสสิก (Neoclassic) ชั้นบนสร้างด้วยไม้มีกรอบเป็นโครงสร้างสี่เหลี่ยมมีไม้ยึดยันแนวทแยงเสริมเป็นช่วงๆ ไม่ให้อาคารโยก ซึ่งนี้เป็นเทคนิคด้านโครงสร้างที่เด่นมากจากฟากเยอรมนี นอกจากนั้นยังมีการกรุใต้ไม้ฝาตีตามแนวนอน และอวดโครงสร้างกรอบเป็นรูปแบบฮาล์ฟทิมเบอร์ (Half Timber)
 
หลังคาของสถานีเป็นทรงปั้นหยาผสมจั่วซ้อนชั้นคล้ายหลังคาตามสถาปัตยกรรมล้านนา ราวระเบียงและช่องแสงเหนือประตูหน้าต่างประดับด้วยช่องปรุไม้แกะสลักลวดลายเลียนแบบศิลปะล้านนา ที่โดดเด่นมากๆ และมองไปทางไหนก็เห็น คือลายแจกันหรือหม้อปูรณฆฏะผสมลายเครือเถา ประดับช่อดอกไม้ม้วนขมวดเป็นวงตามแบบที่พบได้ตามวัดล้านนา ซึ่งเป็นฝีมือช่างที่ประณีตและละเอียดเป็นอย่างมากบนหน้าจั่วของอาคารชั้นบนมีตัวเลขพุทธศักราช 2458 และคริสตศักราช 1915 ซึ่งเป็นปีสร้างอาคารเป็นตัวนูนออกมา โดยฝั่งที่หันไปทางกรุงเทพฯ เป็นคริสตศักราช และฝั่งที่หันไปทางเชียงใหม่เป็นพุทธศักราช
 
หลังคาคลุมชานชาลาด้านหน้าอาคารที่ใช้งานปัจจุบัน ไม่ได้ถูกสร้างและติดตั้งที่นี่มาตั้งแต่แรก ซึ่งไม่มีข้อมูลที่แน่ชัดว่ามาประกอบเข้าช่วงไหน แต่มีหลักฐานข้อมูลว่าถูกยกมาจากสถานีรถไฟแปดริ้ว(ที่หยุดรถไฟแปดริ้วในปัจจุบัน) ซึ่งเคยสถานีรถไฟประจำจังหวัดฉะเชิงเทราในสมัยนั้น ก่อนถูกลดขั้นสถานีแล้วย้ายที่ตั้งใหม่ และเปลี่ยนชื่อเป็น[[สถานีรถไฟชุมทางฉะเชิงเทรา]]ในปัจจุบัน ซึ่งอยู่ในเส้นทางรถไฟสายตะวันออก [[ไฟล์:728-Steam-Locomotive.JPG|thumb|[[รถจักรไอน้ำโมกุล C56]] หมายเลข 728 (C56-36) ตั้งอยู่ที่ด้านหน้าสถานีรถไฟนครลำปาง]]
ด้านหน้าสถานีมีรถจักรไอน้ำ C-56 หมายเลข 728 ซึ่งเป็นรุ่นที่นำมาใช้งานตั้งแต่สมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยญี่ปุ่นขนผ่านทะเล โดยมาทางเรือ และเมื่อสงครามจบก็ไม่ได้นำกลับไป ทิ้งรถจักรไอน้ำส่วนใหญ่ไว้ให้ใช้เพื่อทดแทนรถจักรที่เสียหายจากสงครามในยุคนั้น ซึ่งรถจักรไอน้ำหมายเลข 728 ก็ได้ถูกปลดที่สถานีนี้ในฐานะรถจักรสับเปลี่ยน และได้ถูกจอดตั้งไว้อยู่ด้านหน้าสถานีรถไฟนครลำปางจนถึงปัจจุบัน ซึ่งโดยรอบจะมีจุดจอดรถม้าสำหรับนักท่องเที่ยวอยู่ด้วย<ref>{{Cite web|last=เนียมปาน|first=วันวิสข์|date=2021-01-04|title=สถานีรถไฟนครลำปาง อาคารสไตล์ล้านนาและ Bavarian Cottage ที่บรรจุประวัติศาสตร์ภาคเหนือ|url=https://readthecloud.co/nakhon-lampang-railway-station/|website=The Cloud|language=th}}</ref>
 
==ตารางเดินรถ==
{{updated|17 กรกฎาคม 2564}}
 
==ตารางเวลาการเดินรถ==
===เที่ยวไป===
{{เริ่มตารางเวลารถไฟ|นครลำปาง}}{{ดพ9|04.57}}{{ดพ13|06.33}}{{ด51|10.01}}{{ท407|12.36}}{{ร109|17.11}}{{ดพ7|17.33}}{{จบตารางเวลารถไฟ}}
{| class="wikitable"
! colspan="1" rowspan="2" |ขบวน
! colspan="1" rowspan="2" |ประเภทรถ
! colspan="2" rowspan="2" |สถานีต้นทาง
! colspan="3" rowspan="1" |'''นครลำปาง'''
! colspan="2" rowspan="2" |สถานีปลายทาง
! colspan="1" rowspan="2" |หมายเหตุ
|-
|'''ถึง'''
|'''หยุด'''
('''นาที)'''
|'''ออก'''
|-
|109
|เร็ว
|[[สถานีรถไฟหัวลำโพง|กรุงเทพ]]
|13:45
|'''01:54'''
|'''10'''
|'''02:04'''
|[[สถานีรถไฟเชียงใหม่|เชียงใหม่]]
|04:05
| colspan="1" rowspan="6" |มีเดินทุกวัน
|-
|9
|ด่วนพิเศษ
อุตรวิถี
|[[สถานีรถไฟหัวลำโพง|กรุงเทพ]]
|18:10
|'''04:57'''
|'''4'''
|'''05:01'''
|[[สถานีรถไฟเชียงใหม่|เชียงใหม่]]
|07:15
|-
|13
|ด่วนพิเศษ
|[[สถานีรถไฟหัวลำโพง|กรุงเทพ]]
|19:35
|'''06:30'''
|'''3'''
|'''06:33'''
|[[สถานีรถไฟเชียงใหม่|เชียงใหม่]]
|08:40
|-
|51
|ด่วน
|[[สถานีรถไฟหัวลำโพง|กรุงเทพ]]
|22:00
|'''09:51'''
|'''10'''
|'''10:01'''
|[[สถานีรถไฟเชียงใหม่|เชียงใหม่]]
|12:10
|-
|407
|ท้องถิ่น
|[[สถานีรถไฟนครสวรรค์|นครสวรรค์]]
|05:00
|'''12:33'''
|'''3'''
|'''12:36'''
|[[สถานีรถไฟเชียงใหม่|เชียงใหม่]]
|14:35
|-
|7
|ด่วนพิเศษ
|[[สถานีรถไฟหัวลำโพง|กรุงเทพ]]
|08:30
|'''17:30'''
|'''3'''
|'''17:33'''
|[[สถานีรถไฟเชียงใหม่|เชียงใหม่]]
|19:30
|}
 
===เที่ยวกลับ===
{{เริ่มตารางเวลารถไฟ|นครลำปาง}}{{ร102|08.37}}{{ดพ8|10.41}}{{ท408|12.02}}{{ด52|18.04}}{{ดพ14|19.27}}{{ดพ10|20.17}}{{จบตารางเวลารถไฟ}}
{| class="wikitable"
! colspan="1" rowspan="2" |ขบวน
! colspan="1" rowspan="2" |ประเภทรถ
! colspan="2" rowspan="2" |สถานีต้นทาง
! colspan="3" rowspan="1" |'''นครลำปาง'''
! colspan="2" rowspan="2" |สถานีปลายทาง
! colspan="1" rowspan="2" |หมายเหตุ
|-
|'''ถึง'''
|'''หยุด'''
'''(นาที)'''
|'''ออก'''
|-
|102
|เร็ว
|[[สถานีรถไฟเชียงใหม่|เชียงใหม่]]
|06:30
|'''08:27'''
|'''10'''
|'''08:37'''
|[[สถานีรถไฟหัวลำโพง|กรุงเทพ]]
|21:10
| colspan="1" rowspan="6" |มีเดินทุกวัน
|-
|8
|ด่วนพิเศษ
|[[สถานีรถไฟเชียงใหม่|เชียงใหม่]]
|08:50
|'''10:38'''
|'''3'''
|'''10:41'''
|[[สถานีรถไฟหัวลำโพง|กรุงเทพ]]
|19:25
|-
|408
|ท้องถิ่น
|[[สถานีรถไฟเชียงใหม่|เชียงใหม่]]
|09:30
|'''11:59'''
|'''3'''
|'''12:02'''
|[[สถานีรถไฟนครสวรรค์|นครสวรรค์]]
|19:30
|-
|52
|ด่วน
|[[สถานีรถไฟเชียงใหม่|เชียงใหม่]]
|15:30
|'''17:54'''
|'''10'''
|'''18:04'''
|[[สถานีรถไฟหัวลำโพง|กรุงเทพ]]
|05:25
|-
|14
|ด่วนพิเศษ
|[[สถานีรถไฟเชียงใหม่|เชียงใหม่]]
|17:00
|'''19:24'''
|'''3'''
|'''19:27'''
|[[สถานีรถไฟหัวลำโพง|กรุงเทพ]]
|06:15
|-
|10
|ด่วนพิเศษ
อุตรวิถี
|[[สถานีรถไฟเชียงใหม่|เชียงใหม่]]
|18:00
|'''20:12'''
|'''5'''
|'''20:17'''
|[[สถานีรถไฟหัวลำโพง|กรุงเทพ]]
|06:50
|}
 
=== รถสินค้า ===
* ขบวนรถก๊าซที่ 651/652
* ขบวนรถน้ำมันที่ 643/644, 673/674
 
== ระเบียงภาพ ==
....
 
== งานประจำปีที่สำคัญ ==