ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อินเจนูอิตี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Miwako Sato (คุย | ส่วนร่วม)
Miwako Sato ย้ายหน้า อินเจนูอิตี (เฮลิคอปเตอร์) ไปยัง อินเจนูอิตี: ไม่มีบทความอื่น
Thitut (คุย | ส่วนร่วม)
Merged page
บรรทัด 92:
| {{cvt|35|-|40|Wh}}<ref name="veritasium20190810"/>
|}
เนื่องจากชั้นบรรยากาศของดาวอังคารมีความหน้าแน่นเพียง {{frac|1|100}} ของชั้นบรรยากาศโลกที่ระดับน้ำทะเล<ref>{{Cite web|last=September 2017|first=Tim Sharp 12|title=Mars' Atmosphere: Composition, Climate & Weather|url=https://www.space.com/16903-mars-atmosphere-climate-weather.html|access-date=2021-03-10|website=Space.com|language=en}}</ref> มันจึงยากขึ้นมากสำหรับอากาศยานที่จะสร้าง[[แรงยกทางอากาศพลศาสตร์|แรงยก]] ความยากที่ถูกชดเชยเพียงบางส่วนโดยแรงโน้มถ่วงที่ต่ำกว่าของดาวอังคาร (ประมาณ {{frac|1|3}} ของแรงโน้มถ่วงโลก)<ref name="NYT-20200623" /> การบินใกล้กับพื้นผิวดาวอังคารถูกอธิบายว่า เทียบเท่ากับการบินที่ความสูงกว่า {{cvt|27000|m|ft}} เหนือพื้น[[โลก]] ความสูงที่ไม่เคยไปถึงโดยเฮลิคอปเตอร์ที่มีอยู่ในปัจจุบัน ชั้นบรรยากาศดาวอังคารนั้นส่วนใหญ่ประกอบไปด้วย[[คาร์บอนไดออกไซด์]] ทำให้''อินเจนูอิตี'' ต้องหมุนใบพัดที่ 2,400 รอบต่อนาที เพื่อที่จะลอยอยู่ ซึ่งเป็นประมาณห้าเท่าของรอบใบพัดที่จำเป็นบนโลก<ref>{{cite web |last1=Bachman |first1=Justin |title=Why flying a helicopter on Mars is a big deal |url=https://phys.org/news/2021-04-helicopter-mars-big.html |website=phys.org |access-date=21 April 2021 |date=April 19, 2021 |quote=Indeed, flying close to the surface of Mars is the equivalent of flying at more than 87,000 feet on Earth, essentially three times the height of Mount Everest, NASA engineers said. The altitude record for a helicopter flight on Earth is 41,000 feet.}}</ref>
 
''อินเจนูอิตี'' นั้นถูกออกแบบมาเป็นตัวสาธิตเทคโนโลยีโดย[[ห้องปฏิบัติการแรงขับเคลื่อนไอพ่น]]เพื่อประเมินว่าเทคโนโลยีนี้สามารถบินได้อย่างปลอดภัย และมอบการสร้างแผนที่และนำทางที่จะช่วยให้ข้อมูลเพื่มเติมสำหรับผู้ควบคุมภารกิจในอนาคต สามารถวางแผนเดินทาง และหลีกเลี่ยงอันตราย รวมถึงระบุจุดสนใจสำหรับยานสำรวจดาวอังคาร<ref name="NASA-20180511b">{{cite web|last1=Brown|first1=Dwayne|last2=Wendel |first2=JoAnna|last3=Agle|first3=D.C.|last4=Northon|first4=Karen|title=Mars Helicopter to Fly on NASA's Next Red Planet Rover Mission|url=https://www.nasa.gov/press-release/mars-helicopter-to-fly-on-nasa-s-next-red-planet-rover-mission|date=11 May 2018|publisher=NASA|access-date=11 May 2018|archive-url=https://web.archive.org/web/20180511211623/https://www.nasa.gov/press-release/mars-helicopter-to-fly-on-nasa-s-next-red-planet-rover-mission/|archive-date=11 May 2018|url-status=live}} {{PD-notice}}</ref><ref name="NYT-20180511">{{cite news|last=Chang|first=Kenneth|title=A Helicopter on Mars? NASA Wants to Try |url=https://www.nytimes.com/2018/05/11/science/mars-helicopter-nasa.html|newspaper=The New York Times|access-date=12 May 2018|archive-url=https://web.archive.org/web/20180512130422/https://www.nytimes.com/2018/05/11/science/mars-helicopter-nasa.html|archive-date=12 May 2018|url-status=live}}</ref><ref name="VRG-20180511">{{cite web|last=Gush |first=Loren|title=NASA is sending a helicopter to Mars to get a bird's-eye view of the planet – The Mars Helicopter is happening|url=https://www.theverge.com/2018/5/11/17346414/nasa-mars-2020-helicopter-atmosphere|date=11 May 2018|publisher=The Verge|access-date=11 May 2018|archive-date=6 December 2020|archive-url=https://web.archive.org/web/20201206232523/https://www.theverge.com/2018/5/11/17346414/nasa-mars-2020-helicopter-atmosphere|url-status=live}}</ref> ''อินเจนูอิตี'' นั้นถูกออกแบบเพื่อมอบภาพมุมสูงที่มีความคมชัดประมาณสิบเท่าของภาพจากวงโคจร และจะมอบภาพของลักษณะบางอย่างที่อาจบดบังจากกล้องของยานสำรวจดาวอังคาร ''เพอร์เซเวียแรนส์'' <ref>{{Cite web|last=Greicius|first=Tony|date=2021-02-19|title=NASA's Mars Helicopter Reports In|url=http://www.nasa.gov/feature/jpl/nasa-s-mars-helicopter-reports-in|publisher=NASA|access-date=2021-02-23}} {{PD-notice}}</ref>มีการคาดหมายว่าการสำรวจแบบนี้อาจจะช่วยให้ยานสำรวจดาวอังคารในอนาคตขับไปได้ไกลกว่าเดิมถึงสามเท่าต่อ[[โซล (วันบนดาวอังคาร)|โซล]]<ref>[http://epubs.surrey.ac.uk/841669/1/ScienceRobotics-SpaceRoboticsSurvey%20GaoChien_no%20figure_final.pdf Review on space robotics: Toward top-level science through space exploration] {{Webarchive |url=https://web.archive.org/web/20210221200009/http://epubs.surrey.ac.uk/841669/1/ScienceRobotics-SpaceRoboticsSurvey%20GaoChien_no%20figure_final.pdf|date=21 February 2021}} Y. Gao, S. Chien – Science Robotics, 2017</ref>
[[ไฟล์:PIA23153-BuildingMars2020Rover-AttachingHelicopter-20190828.jpg|thumb|Credits: NASA/JPL-Caltech]]
 
เฮลิคอปเตอร์ลำนี้ถูกออกแบบมาให้มีใบพัดคู่หมุนตรงกันข้ามซึ่งมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 1.2 เมตร (4 ฟุต) และหมุนด้วยความเร็ว 2,400 รอบต่อวินาที ซึ่งเร็วกว่าเฮลิคอปเตอร์ทั่วไปบนโลกถึง 10 เท่า เฮลิคอปเตอร์ลำนี้ติดกล้องความละเอียดสูงสำหรับการบินการลงจอดและสำรวจภูมิประเทศของดาวอังคาร และส่งข้อมูลกลับมายังโลก ใช้พลังงานจากแบตเตอรี่ลิเทียมไอออน เมื่อแบตเตอรี่หมดสามารถชาร์จใหม่ได้จากแผงโซล่าเซลล์ที่ติดอยู่เหนือใบพัด
''อินเจนูอิตี'' ใช้ใบพัดหมุนย้อนร่วมแกน เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ {{cvt|4|ft|order=flip}} น้ำหนักบรรทุกของมันเป็นกล้องมองลงความละเอียดสูงสำหรับการนำทาง ลงจอด และสำรวจพื้นผิว และระบบสื่อสารสำหรับส่งข้อมูลสู่ยานสำรวจดาวอังคาร ''เพอร์เซเวียแรนส์'' <ref>{{cite web|url=https://www-robotics.jpl.nasa.gov/publications/Richard_Volpe/isairas%202014%20paper,%20volpe,%20v8.pdf |title=2014 Robotics Activities at JPL|last=Volpe|first=Richard|work=Jet Propulsion Laboratory|publisher=NASA|access-date=1 September 2015|archive-date=21 February 2021|archive-url=https://web.archive.org/web/20210221200009/https://www-robotics.jpl.nasa.gov/publications/Richard_Volpe/isairas%202014%20paper,%20volpe,%20v8.pdf|url-status=live}} {{PD-notice}}</ref> แม้ว่ามันจะเป็นอากาศยาน มันถูกสร้างขึ้นด้วยรายละเอียดคุณลักษณะจำเพาะของยานอวกาศเพื่อให้มันสามารถทนอัตราเร่งและการสั่นขณะส่งจรวดได้<ref>{{Cite web|last=https://jpl.nasa.gov|title=6 Things to Know About NASA's Mars Helicopter on Its Way to Mars|url=https://www.jpl.nasa.gov/news/6-things-to-know-about-nasas-mars-helicopter-on-its-way-to-mars|access-date=2021-03-10|website=NASA Jet Propulsion Laboratory (JPL)|language=en}}</ref> มันยังมีระบบที่สามารถต้านทานรังสีและสามารถทำงานในสภาพเย็นจัดของดาวอังคาร สนามแม่เหล็กไฟฟ้าที่ไม่สม่ำเสมอของดาวอังคารทำให้การใช้[[เข็มทิศ]]ในการนำทางเป็นไปไม่ได้ ดังนั้นมันจึงใช้กล้องติดตามดวงอาทิตย์ซึ่งอยู่รวมกับระบบนำทางด้วยแรงเฉี่อยของห้องปฏิบัติการแรงขับเคลื่อนไอพ่น ตัวป้อนข้อมูลเข้าเพิ่มเติมได้แก่ [[ไจโรสโคป]], การวัดระยะทางจากภาพ, เครื่องวัดความเอียง, เครื่องวัดความสูง และเครื่องตัวจับสิ่งอันตราย<ref>[https://thesis.library.caltech.edu/10338/1/Parth_Shah_2017Thesis.pdf Heading Estimation via Sun Sensing for Autonomous Navigation] {{Webarchive |url=https://web.archive.org/web/20210221200010/https://thesis.library.caltech.edu/10338/1/Parth_Shah_2017Thesis.pdf|date=21 February 2021}}, Parth Shah, 2017</ref> มันถูกออกแบบให้ใช้[[เซลล์แสงอาทิตย์]]เพื่อเติมไฟฟ้าเข้าสู่[[แบตเตอรี่]]ของมัน ซึ่งเป็น[[แบตเตอรี่ลิเธียมไอออน]]ของโซนี่หกก้อน ซึ่งมีประจุพลังงาน {{cvt|35|-|40|Wh}}<ref name="veritasium20190810" /><ref name="Balaram 2018" />
 
ระยะเวลาในการบินนั้นไม่ได้ถูกจำกัดโดยพลังงาน แต่ถูกจำกัดโดยความร้อนส่วนเกิน ที่ทำให้มอเตอร์ร้อนขึ้นขณะบินที่อัตรา 1 เคลวินต่อวินาที<ref name="NextStepsMediaBriefing" />
 
''อินเจนูอิตี'' ใช้หน่วยประมวลผลสแนปดรากอน 801 ของ[[ควอลคอมม์]] กับระบบปฏิบัติการ[[ลินุกซ์]]<ref name="ieee-linux">{{cite news|url=https://spectrum.ieee.org/automaton/aerospace/robotic-exploration/nasa-designed-perseverance-helicopter-rover-fly-autonomously-mars|title=How NASA Designed a Helicopter That Could Fly Autonomously on Mars|date=17 February 2021|work=IEEE Spectrum|access-date=19 February 2021 |archive-date=19 February 2021|archive-url=https://web.archive.org/web/20210219054558/https://spectrum.ieee.org/automaton/aerospace/robotic-exploration/nasa-designed-perseverance-helicopter-rover-fly-autonomously-mars|url-status=live}}</ref> ท่ามกลางความสามาถอื่น ๆ หน่อยประมวลผลนี้ควบคุมขั้นตอนวิธีนำทางด้วยภาพผ่านการประมาณการอัตราเร็ว ซึ่งหาจากลักษณเฉพาะซึ่งติดตามโดย กล้องมองลงนำทางขาวดำซึ่งมีเซนเซอร์ชัตเตอร์ครอบคลุม โอวี7251 ของออมนิวิสชัน หรือผ่านกล้องมองขอบฟ้าถ่ายพื้นผิว<ref name="Balaram 2018" /><ref>{{cite journal|last1=Matthies|first1=Bayard|last2=Delaune|first2=Conway|title=Vision-Based Navigation for the NASA Mars Helicopter|journal=AIAA Scitech 2019 Forum |issue=1411|year=2019|pages=3|doi=10.2514/6.2019-1411|isbn=978-1-62410-578-4}}</ref>
หน่วยประมวลผลควอลคอมม์นั้นเชื่อมต่อกับไมโครคอนโทรลเลอร์ที่ควบคุมการบินสองหน่วย เพื่อปฏิบัติการควบคุมการบินที่จำเป็น<ref name="Balaram 2018" /> มันยังขนตัววัดแรงเฉี่อยชนิดสำหรับโทรศัพท์มือถือ บีเอ็มไอ-160 ของบอร์ช, เซ็นเซอร์วัดความเอียง เอสซีเอ100ที-ดี02 ของมูราตะ และ[[ไลดาร์|เครื่องวัดความสูงเลเซอร์]] [[ไลดาร์]]ไลท์ วี3 ของการ์มิน<ref name="ieee-linux" />
 
การสื่อสารกับยานสำรวจดาวอังคารนั้นผ่านการเชื่อมต่อทางวิทยุด้วย[[โพรโทคอล|โพรโทคอลสื่อสาร]]พลังงานต่ำของซิกบี บนคลื่น 914 [[เฮิรตซ์|MHz]] ดำเนินการผ่านชิปเซตไซเฟลคซ์ 02 ซึ่งติดอยู่ทั้งในยานสำรวจดาวอังคารและเฮลิคอปเตอร์ดาวอังคาร<ref name=":5">{{Cite journal|last1=Chahat|first1=Nacer|last2=Miller|first2=Joshua|last3=Decrossas|first3=Emmanuel|last4=McNally|first4=Lauren|last5=Chase|first5=Matthew|last6=Jin|first6=Curtis|last7=Duncan|first7=Courtney|date=December 2020|title=The Mars Helicopter Telecommunication Link: Antennas, Propagation, and Link Analysis|url=https://ieeexplore.ieee.org/document/9096535|journal=IEEE Antennas and Propagation Magazine|volume=62|issue=6|pages=12–22|doi=10.1109/MAP.2020.2990088|issn=1045-9243}}</ref> ระบบสื่อสารนั้นถูกออกแบบมากดเพื่อส่งข้อมูลที่ 250 kbit/s ในระยะทางถึง {{cvt|1000|m}}.<ref name=":5" /> เฮลิคอปเตอร์สำรวจดาวอังคารใช้เสาอากาศแบบเสาเดี่ยวน้ำหนักเบาบนเซลล์แสงอาทิตย์ของเฮลิคอปเตอร์ ซึ่งใช้เป็นระนาบพื้นขนาดใหญ่ที่ถูกออกแบบให้สามารถสื่อสารได้เท่ากันในทุกทิศทาง<ref name=":5" /> ยานสำรวจดาวอังคารขนเสาอากาศแบบเสาเดียวสำหรับสื่อสารกับเฮลิคอปเตอร์เช่นกัน แม้จะเป็นเสาอากาศที่มีขนาดใหญ่กว่ามาก<ref name=":5" />
 
==การขึ้นบินและการควบคุมการบินบนดาวอังคาร==