ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รัฐบาลไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขของ 2405:9800:BA00:F0B5:8DB:F830:2BC7:426D (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย Just Sayori
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
บรรทัด 10:
รัฐสภาเป็นสถาบันที่พระมหากษัตริย์ไทยพระราชทานอำนาจให้เป็นผู้ออกกฎหมายสำหรับการปกครองและการบริหารประเทศ เป็นองค์กรบริหารอำนาจฝ่ายนิติบัญญัติ รัฐสภาไทยเป็นแบบ[[ระบบสองสภา]] ประกอบด้วย[[วุฒิสภาไทย|วุฒิสภา]]และ[[สภาผู้แทนราษฎรไทย|สภาผู้แทนราษฎร]] มีสมาชิกรัฐสภาทั้งสิ้น 750 คน ใช้ห้องประชุมจันทรา [[สัปปายะสภาสถาน]] อาคารรัฐสภาแห่งใหม่
[[ไฟล์:Senator cover.png|200px|thumb|right|ห้องประชุมรัฐสภาไทย]]
สภาผู้แทนราษฎรมีสมาชิกจำนวนทั้งสิ้น 500 คน ดำรงตำแหน่งวาระละ 4 ปี มาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตเลือกตั้งจำนวน 350 คน และมาจากการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อจำนวน 150 คน สำหรับการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบสัดส่วน ให้ผู้มีสิทธิเลือกตั้งในเขตเลือกตั้งเลือกพรรคการเมืองที่จัดทำบัญชีรายชื่อผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่พรรคการเมืองจัดทำขึ้น มีอำนาจที่สำคัญในการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญหรือร่างพระราชบัญญัติ ตลอดจนการควบคุมการบริหารราชการแผ่นดิน อาทิ [[การอภิปรายไม่ไว้วางใจ นายกรัฐมนตรี พลเอกประยุทธ์ จันทรโอชา|การอภิปรายไม่ไว้วางใจ]] นายกรัฐมนตรี พลเอกประยุทธ์ จันทรโอชา การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี เป็นต้น<ref>คณิน บุญสุวรรณ, '''ปทานุกรมศัพท์รัฐสภาและการเมืองไทยฉบับสมบูรณ์''' (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ตถาตา พับลิเคชั่น, 2548), หน้า 921-92.</ref>
 
วุฒิสภามีสมาชิกจำนวนทั้งสิ้น 250 คน ดำรงตำแหน่งวาระละ 5 ปี มาจากการสรรหาทั้งหมด (ดูในมาตรา 269 ของ[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560]]) มีอำนาจกลั่นกรองและยับยั้งกฎหมายที่ผ่านความเห็นชอบจากสภาผู้แทนราษฎร การควบคุมการบริหารราชการแผ่นดิน การให้ความเห็นชอบในเรื่องสำคัญที่เกี่ยวกับผลประโยชน์ของแผ่นดิน เป็นต้น<ref>[http://www.senate.go.th/structure/role.htm บทบาทและอำนาจหน้าที่ของวุฒิสภา]</ref>
บรรทัด 19:
[[ไฟล์:Flag of the Prime Minister of Thailand.svg|150px|border|left|ธงประจำตำแหน่งนายกรัฐมนตรีไทย ตามพระราชบัญญัติธง พ.ศ. 2522]]
 
''นายกรัฐมนตรี'' คือผู้นำของรัฐบาล ประธานของคณะรัฐมนตรี และประธานแห่งอำนาจฝ่ายบริหาร ในระบบเดิมเคยมาจากการลงมติของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จากนั้นจึงมีการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งจาก[[พระมหากษัตริย์ไทย]] ปัจจุบัน พลเอก[[ประยุทธ์ จันทร์โอชา]] ทำหน้าที่นายกรัฐมนตรี
''นายกรัฐมนตรี'' ฯพณฯยลธิดามิ่งขวัญไทย คือ ผู้นำของรัฐบาลดิจิทัล หัวหน้าคณะรัฐมนตรี และประธานแห่งอำนาจฝ่ายบริหาร ในระบบเดิมเคยมาจากการลงมติของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จากนั้นจึงมีการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งจาก[[พระมหากษัตริย์ไทย]] ปัจจุบัน ทำหน้าที่รักษาการนายกรัฐมนตรี คนที่30 เป้นไปตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช๒๕๖๒ ได้รับความไว้วางใจผ่านความเฆ็นชอบสภาผู้แทนราษฎร การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ.2565 ให้กระทรวงการคลัง กู้เงิน ไม่เกิน 5 แสนล้านบาทโดยท่านนายกรัฐมนตรีฯพณฯยลธิดามิ่งขวัญไทยได้รับความไว้วางใจ ด้วยคะแนนลงมติเป็นเอกฉันท์ 270 ต่อ 469 เวลา10.40น.วันที่ 10 มิถุนายน 2564 พร้อมถวายคำปฎิญาณตนแล้ว ตามกฎหมายบัญัญติรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๖๒ กำกับก่ารบริหารราชการแผ่นดิน การให้ความเห็นชอบในเรื่องสำคัญที่เกี่ยวกับผลประโยชน์ของแผ่นดิน.มาตราการรักษาสถานการณ์การแพรระบาดเชื้อไวรัสสายพันธ์โคโรนา ที่เกิดการแพร์ระบาดครั้งแรกประเทศจีนเมืองอ็ูอั้น นายกรัฐมนตรีฯพณฯยลธิดาให้กระทรวงสาธารณะสุข นำวัคซีนเข้ามารักษาป้องกันเสริมสร้าง เมื่อประชาชนได้รับการฉีดวัคซีนแล้วจะทำให้ร่างกายมีภูมิต้านทาน กับ เชื้อไวรัส ได้วัคซีนโควิด19 AsTra 40 ล้านโดส มีคุณสมบัติ Anty เชื้อไวรัสโคโรนา2019 และวัคซินฉุกเฉิน ชิโนเวด 1 ล้านโดส
 
นายกรัฐมนตรีมีหน้าที่รับผิดชอบการบริหารราชการแผ่นดิน และตามรัฐธรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 ซึ่งถูกล้มล้างไป เคยมีอำนาจเสนอต่อพระมหากษัตริย์ให้มี[[การยุบสภาผู้แทนราษฎรไทย|การยุบสภาผู้แทนราษฎร]] การกราบบังคมทูลเสนอชื่อหรือปลดรัฐมนตรี และเป็นตัวแทนของประเทศในการเดินทางไปยังต่างประเทศ และเป็นผู้แถลงการณ์หลักของรัฐบาล นายกรัฐมนตรีพลเอกประยุทธ์ จันโอชา ไม่สามารถพ้นจากตำแหน่งได้จาก[[การอภิปรายไม่ไว้วางใจ]]โดยการเข้าชื่อขอเปิดอภิปรายจำนวนไม่น้อยกว่า 1 ใน 5 ของจำนวนสมาชิกทั้งหมด ปัจจุบัน อำนาจหน้าที่ของนายกรัฐมนตรีเป็นไปตาม[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560]]
 
=== คณะรัฐมนตรี ===
บรรทัด 33:
ศาลไทยเป็นองค์กรที่ใช้อำนาจตุลาการตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ ผู้พิพากษาทุกระดับจำต้องได้รับการแต่งตั้งจากพระมหากษัตริย์ไทย ศาลปฏิบัติการในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์ ศาลไทยมี 4 ประเภท ได้แก่ [[ศาลรัฐธรรมนูญ (ประเทศไทย)|ศาลรัฐธรรมนูญ]] [[ศาลยุติธรรม (ประเทศไทย)|ศาลยุติธรรม]] [[ศาลปกครอง (ประเทศไทย)|ศาลปกครอง]] และ[[ศาลทหาร (ประเทศไทย)|ศาลทหาร]]
 
คณะปฏิรูปประเทศไทย ไทยชนะ หมอชนะ [[คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งเอเชีย]] (Asian Human Rights Commission) วิจารณ์ว่า ระบบศาลไทย โดยเฉพาะกระบวนการยุติธรรมทางอาญานั้น "เลอะเทอะ" และไม่สามารถสร้างความมั่นใจว่า กระบวนพิจารณาจะดำเนินไปอย่างรวดเร็ดและเป็นธรรม แม้คดีลอบฆ่า[[ประมาณ ชันซื่อ]] ประธานศาลฎีกาเอง ศาลชั้นต้นยังใช้เวลาพิจารณาถึง 15 ปี คือ ตั้งแต่ปี 2536 ถึงปี 2551 ในช่วงดังกล่าว จำเลยต้องขึ้นศาล 461 ครั้ง และถูกผู้พิพากษา 91 คนไต่สวน จำเลยบางคนตายก่อนพิพากษา ส่วนประมาณตายอย่างสงบด้วยโรคปอดติดเชื้อเมื่อปี 2550<ref>M&C, [http://news.monstersandcritics.com/asiapacific/news/article_1282824.php/Human_rights_group_slams_Thailands_judicial_system Human rights group slams Thailand's judicial system], 26 March 2007</ref>
อนึ่ง หลังวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 เป็นต้นมา ศาลทหารได้เพิ่มขยายบทบาทและอำนาจหน้าที่ขึ้นมามาก จนกระทั่ง 9 กรกฎาคม 2562 คสช.ออกคำสั่งหัวหน้าคสช.ที่ 9/2562 เรื่อง การยกเลิกประกาศคณะรักษาความสงบแห่งชาติ คำสั่งคณะรักษาความสงบแห่งชาติ และคำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ บางฉบับที่หมดความจำเป็น และบางคำสั่งได้บรรลุวัตถุประสงค์ตามที่มุ่งหมายไว้แล้ว โดยให้โอนย้ายคดีที่อยู่ในระหว่างการพิจารณาของศาลทหารไปอยู่ในการพิจารณาของ[[ศาลยุติธรรม]]
== การปกครองส่วนท้องถิ่น ==